600 likes | 1.66k Views
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐). ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อการเปลี่ยนแปลง.
E N D
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการ ป้องกันและปราบปรามทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๖๐)
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเพื่อการเปลี่ยนแปลง ปัญหาการทุจริตในประเทศไทย เป็นปัญหาที่สั่งสมติดต่อกันมายาวนาน ส่งผลกระทบโดยตรงต่อระบบสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและความมั่นคงของประเทศ รวมถึงภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นต่อสายตาของประชาคมโลก โดยหนึ่งในเหตุผลสำคัญของคณะปฏิวัติเมื่อปี 2549 มาจากประเด็นปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่น ซึ่งนับวันรูปแบบการทุจริตจะมีความหลากหลายและทวีความรุนแรงมากขึ้น จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องเร่งดำเนินการแก้ไขปัญหาทุจริตให้หมดไปจึงต้องสร้างระบบการป้องกันและปราบปรามการทุจริตให้มีประสิทธิภาพเพื่อป้องกันการทุจริต
การแปลงยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1สู่แผนยุทธศาสตร์ระดับองค์กร ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1ปลูกจิตสำนึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม และสร้างวินัยแก่ ทุกภาคส่วน สังคมไทยมีวินัย และยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม ทุกภาคส่วนร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 4สร้างบุคลากรมืออาชีพ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 รวมพลังแผ่นดินป้องกัน และปราบปรามการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความแข็งแกร่ง แก่หน่วยงานต่อต้านการทุจริต นำไปสู่แนวทางในการจัดสรรทรัพยากร (งบประมาณ) และเป็นเครื่องมือกำกับให้หน่วยงานมีการดำเนินงาน ที่สอดคล้องและสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับยุทธศาสตร์ชาติฯ แผนยุทธศาสตร์ฯสำนักงาน ป.ป.ช. เป็นองค์กรนำด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่ได้รับการยอมรับ เชื่อมั่น และมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนสังคม วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนานวัตกรรมและกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 4พัฒนากลไกตรวจสอบสนองตอบประชาชน ยุทธศาสตร์ที่ 5บริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 1รณรงค์เสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างเครือข่ายพันธมิตรพิชิตคอร์รัปชั่น ยุทธศาสตร์ที่ 6พัฒนาองค์กรแห่งการเรียนรู้ เสริมสมรรถนะและจิสาธารณบุคลากร แผนยุทธศาสตร์ฯ ภาครัฐ (สำนักงาน ป.ป.ท.) หน่วยงานภาครัฐ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลทุกภาคส่วนร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ที่ 1เสริมสร้างจิตสำนึก ค่านิยมให้หน่วยงานภาครัฐ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างความเข้มแข็งในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 4พัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในการป้องกันปราบปรามการทุจริตภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 2 บูรณาการหน่วยงานทุกภาคส่วนในการป้องกัน และปราบปรามการทุจริตภาครัฐ
นโยบายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ช่วงเปลี่ยนผ่าน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2557) ยุทธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 1 มีระยะเวลาดำเนินการในช่วงระหว่างปี (พ.ศ.2551-2555) และมีการขยายกรอบการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 – 2557 (ระหว่างรอการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 2 แล้วเสร็จ) โดยสำนักงาน ป.ป.ช. จะขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 (ส่วนที่ยังมิได้ปฏิบัติ) เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นดำเนินการในด้าน การส่งเสริมจริยธรรมและการป้องกันการทุจริตตามกรอบยุทธศาสตร์ของเดิมทั้ง 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ยุทธศาสตร์ที่ 1 รณรงค์เสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทุกภาคส่วนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีค่านิยม เชิดชูคุณธรรม จริยธรรม และวินัย รวมทั้งมีการพัฒนาบุคลากรต้นแบบคุณธรรมจริยธรรมและความมีวินัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนากลไกตรวจสอบ สนองตอบประชาชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐมีประสิทธิภาพ สามารถติดตามตรวจสอบและลงโทษผู้กระทำผิดกรณีตรวจพบการทุจริตระดับชาติและสามารถบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริตอย่างมีประสิทธิภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างเครือข่ายพันธมิตรพิชิตคอร์รัปชัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความร่วมมือกับเครือข่ายในการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริต และส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต
นโยบายคณะกรรมการ ป.ป.ช. ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ช่วงเปลี่ยนผ่าน (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556-2557) • หน่วยงานภาครัฐ :- มุ่งเน้นการสร้างความโปร่งใส และยกระดับคุณธรรม ในการดำเนินงาน โดยมีการกำกับติดตามประเมินผล อย่างจริงจัง พร้อมกับการใช้บังคับมาตรการป้องกัน การทุจริตในการจัดซื้อจัดจ้าง 1. กลุ่มเป้าหมาย เด็กและเยาวชน :- มุ่งเน้นการปลูกจิตสำนึกความเป็นคนดี มีวินัย มีจิตอาสา มีส่วนร่วมป้องกันปราบปรามการทุจริต • องค์กรภาคเอกชน :- เร่งพัฒนามาตรการทางกฎหมายในการป้องกันการ ทุจริตตามหลักบรรษัทภิบาล และเสริมสร้างความ เข้มแข็งของกลไกร่วมป้องกันการทุจริตในภาครัฐ • โดยภาคเอกชน 4. องค์การภาคประชาสังคมและสื่อ :- เสริมสร้างพลังให้เครือข่ายเฝ้าระวัง เขี้ยวเล็บของสื่อ การใช้ Social Network เพื่อให้เกิดพลังกดดัน ไม่ยอมรับคนโกง
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 – 2560) • พันธกิจที่ 3 • พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ครอบคลุมพื้นที่เป้าหมาย โดยเป็นนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • พันธกิจที่ 4 • สนับสนุนให้ภาคีทุกภาคส่วนสร้างองค์ความรู้ (Knowledge body) เพื่อให้รู้เท่าทันและร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทุจริต • พันธกิจที่ 1 • สร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม และจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริตโดยเน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมของประเทศให้แก่ทุกภาคส่วนในสังคมไทยโดยเฉพาะกลุ่มนักการเมืองและเจ้าหน้าที่รัฐ • พันธกิจที่ 2 • พัฒนาความร่วมมือระบบการประสานงานและบูรณาการการทำงานระหว่างเครือข่ายการป้องกันและปราบปรามการทุจริตกับทุกภาคส่วน และปรับปรุงกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคในการบูรณาการและการดำเนินงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งภายในและระหว่างประเทศ • วิสัยทัศน์ • “สังคมไทยมีวินัยโปร่งใสยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมและร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นที่ยอมรับในระดับสากล” วัตถุประสงค์หลักที่ 2 เพื่อพัฒนาระบบบริหารการต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพมีบูรณาการเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติฯกับแผนยุทธศาสตร์ระดับองค์กรของหน่วยงานต่อต้านการทุจริตรวมทั้งแนวทางขับเคลื่อนและทิศทางประเมินผลที่ชัดเจน วัตถุประสงค์หลักที่ 3 เพื่อพัฒนาระบบ กลไก และมาตรการที่สนับสนุนให้สาธารณะและภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริตเกิดความไว้ว่างใจ และเชื่อมั่นในความปลอดภัย วัตถุประสงค์หลักที่ 4 เพื่อยกระดับสมรรถนะการดำเนินงานของหน่วยงานต่อต้านการทุจริตในด้านการต่อต้านทุจริตให้เท่าทันสถานการณ์และได้มาตรฐานสากล วัตถุประสงค์หลักที่ 1 เพื่อยกระดับจิตสำนึกรับผิดชอบในประโยชน์ของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักการเมืองและบุคลากรในหน่วยงานต่อต้านการทุจริต • ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 • ยุทธศาสตร์ที่ 4 ยุทธศาสตร์ที่ 5 • ยุทธศาสตร์ที่ 1 6
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 2 ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาความร่วมมือ กับองค์กรต่อต้าน การทุจริต และเครือข่าย ระหว่างประเทศ • ยุทธศาสตร์ 5 • เสริมสร้าง องค์ความรู้ด้านการต่อต้านการทุจริตให้กับบุคลากร • ทุกภาคส่วน • ยุทธศาสตร์ 1 • ปลูกและปลุกจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ยุทธศาสตร์ 2 บูรณาการทำงานของหน่วยงานในการต่อต้านการทุจริต และพัฒนาเครือข่ายในประเทศ • ยุทธศาสตร์ 4 • พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต มาตรการ/ แนวทาง 4.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนามาตรการและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 4.2 สร้างเสริมระบบแจ้งเบาะแสและการคุ้มครองพยาน การเสริมสร้างศักยภาพและการมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทุจริตให้กับภาคีเครือข่ายภาคประชาสังคมและประชาชนเพื่อให้เกิดความเชื่อมั่น 4.3 สร้างเสริมระบบรับเรื่องร้องเรียนให้กับองค์กรตามรัฐธรรมนูญที่ต่อต้านการทุจริต มาตรการ/ แนวทาง 3.1 ประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน/องค์กรต่อต้านการทุจริตและองค์กรเอกชนในระดับนานาชาติ 3.2 ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องกับอนุสัญญาระหว่างประเทศ 3.3 สร้างความร่วมมือโดยการเข้าร่วมปฎิญญาและการทำบันทึกความเข้าใจระหว่างประเทศ มาตรการ/ แนวทาง 5.1 สร้างองค์ความรู้ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตโดยการศึกษาวิจัยและพัฒนา 5.2 พัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ 5.3 สร้างบุคลากรเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาสำหรับตรวจสอบและปราบปรามการทุจริตรายสาขา มาตรการ/ แนวทาง 2.1 ประสานการทำงานและการบริหารระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญ 2.2 สร้างความเข้มแข็งการบูรณาการความร่วมมือระหว่างภาคีเครือข่าย หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมและประชาชนในการต่อต้านการทุจริต 2.3 พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง 2.4 ปรับปรุงกฎหมายและการบังคับใช้กฎหมายรวมถึงการพัฒนาระเบียบ หลักเกณฑ์ข้อบังคับในแต่ละหน่วยงานหลักในการต่อต้านการทุจริตให้สอดคล้องกัน มาตรการ/ แนวทาง 1.1 ส่งเสริมการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 ส่งเสริมการใช้และกำหนดบทลงโทษในประมวลจริยธรรมแก่ทุกภาคส่วน 1.3 การใช้การศึกษาและศาสนาเป็นเครื่องมือการปลูก-ปลุก-ปรับเปลี่ยนฐานความคิด 1.4 ดูแลคุณภาพชีวิตและรายได้ของเจ้าหน้าที่ของรัฐและข้าราชการ
ความมุ่งหวังที่จะสร้างนักการเมืองให้มีเจตนารมณ์ที่แน่วแน่ทางการเมือง มีการกระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม • ความมุ่งหวังที่จะเร่งสร้างจิตสำนึกของภาคประชาชนตระหนักถึงภัยร้ายของการทุจริต โดยการปลูกฝังผ่านกระบวนการเรียนรู้ การฝึกอบรม และการใช้กลไกทางศาสนา • การสร้างกระบวนการเรียนรู้ควบคู่กับการปรับปรุงคุณภาพชีวิตในส่วนของเจ้าหน้าที่รัฐ เพื่อลดแรงจูงใจในการประทำการทุจริตของเจ้าหน้าที่รัฐ เหตุผลในการเลือกยุทธศาสตร์ทั้ง 5 • ยุทธศาสตร์ 1 • ปลูกและปลุกจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ยุทธศาสตร์ 2 บูรณาการทำงานของหน่วยงานในการต่อต้านการทุจริต และพัฒนาเครือข่ายในประเทศ • ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ ๒ ให้มีความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการต่อต้านการทุจริต จะต้อง • มีการทำงานในลักษณะของการบูรณาการความร่วมมือ • มีการปรับปรุงระบบการทำงานขององค์กรตามรัฐธรรมนูญที่ต่อต้านการทุจริตให้มีประสิทธิภาพ • มีการจัดทำระบบติดตามและประเมินผล • การขยายความร่วมมือไปยังภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ยุทธศาสตร์ 3 พัฒนาความร่วมมือ กับองค์กรต่อต้าน การทุจริต และเครือข่ายระหว่างประเทศ ประกาศให้ ประชาชนทราบ ความมุ่งหวังในการสร้างความเชื่อมั่นและเป็นแรงจูงใจให้แก่ประชาชนและเครือข่ายในการ้องเรียนแจ้งเบาะแส และเพื่อสร้างประสิทธิภาพการป้องกันและปราบปรามการทุจริต โดยการบังคับใช้กฎหมายการคุ้มครองพยาน การสร้างกลไกการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ การปรับปรุง กม.ที่มีอยู่เพื่อเสริมความเข้มแข็งขององค์กรตาม รัฐธรรมนูญ.อย่างเต็มที่ • ยุทธศาสตร์ 4 • พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต เนื่องจากรูปแบบการทุจริตมีความซับซ้อนมากขึ้น การตรวจสอบและหาหลักฐานกระทำได้ยากขึ้น จำเป็นต้องเพิ่ม องค์ความรู้ที่ครบถ้วน โดยการพัฒนาระบบการจัดการองค์ความรู้ และการสร้างบุคลากรมืออาชีพในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ทันสมัยและมีระบบฐานข้อมูลการทุจริตที่สมบูรณ์ ยุทธศาสตร์ 5 เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการต่อต้านการทุจริตให้กับบุคลากรทุกภาคส่วน 8
การกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัด (ยึดความเชื่อมโยงกับค่าคะแนนดัชนี CPI และประเด็นการสำรวจจาก 8 แหล่งข้อมูลหลัก) เป้าหมายหลัก เพิ่มระดับของค่า CPI ของประเทศไทยโดยตั้งเป้าไว้ที่ ร้อยละ 50 ในปี 2560 เป้าหมายรอง • ผู้มีอำนาจหรือผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองมีการทุจริตมีพฤติกรรมการทุจริตลดลง • เจ้าหน้าที่รัฐมีพฤติกรรมการใช้ตำแหน่ง หน้าที่ในทาง ทุจริต ประพฤติมิชอบลดลง • ระดับการรับรู้ว่าการทุจริตเป็นปัญหาส่งผลกระทบทางสังคม เศรษฐกิจสูงขึ้น • ระดับการทุจริตอันเกิดจากภาคธุรกิจ/ การจ่ายเงินสินบนในกระบวนการต่างๆลดลง • ระดับความโปร่งใสและการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณภาครัฐเพิ่มขึ้น • ระดับการปราบปรามการทุจริตและบังคับใช้กฎหมายกับผู้กระทำผิดมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 9
การกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดในยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 วัตถุประสงค์หลักที่ 1 ยกระดับจิตสำนึกรับผิดชอบในประโยชน์ของทุกภาคส่วนโดยเฉพาะอย่างยิ่งนักการเมืองและบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐในการต่อต้านการทุจริต ยุทธศาสตร์ที่ 1 ปลูกและปลุกจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ตัวชี้วัด • จำนวนหลักสูตรการเรียนการสอนและการฝึกอบรมที่เกี่ยวข้องกับการปลูกจิตสำนึกด้านการต่อต้าน การทุจริต • ความสำเร็จของการพัฒนาระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ • พฤติกรรมของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองเป็นที่ยอมรับของประชาชนมากขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ 10
การกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดในยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 วัตถุประสงค์หลักที่ 2 เพื่อพัฒนาระบบบริหารการต่อต้านการทุจริตที่มีประสิทธิภาพ มีการบูรณาการเชื่อมโยงแผนยุทธศาสตร์ชาติฯกับแผนยุทธศาสตร์ระดับองค์กรของหน่วยงาน ต่อต้านการทุจริต รวมทั้งแนวทางขับเคลื่อนและทิศทางประเมินผลที่ชัดเจน ยุทธศาสตร์ที่ 2บูรณาการทำงานของหน่วยงานในการต่อต้านการทุจริต และพัฒนาเครือข่ายในประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาความร่วมมือกับองค์กรต่อต้านการทุจริตและเครือข่ายระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด ความก้าวหน้าหรือความสำเร็จในการพัฒนาระบบบริหารและการประสานงานการต่อต้านการทุจริตที่เชื่อมโยงการทำงานระหว่างองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการต่อต้านการทุจริต(Anti-Corruption Agencies: ACA) ของต่างประเทศและภาคีอื่นๆรวมทั้งการเชื่อมโยงจากส่วนกลางสู่พื้นที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผลการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐) . 3. รัฐบาลมีแนวนโยบายสนับสนุนในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ที่ชัดเจนทั้งทางด้านงบประมาณและ บุคลากรในสัดส่วนที่เหมาะสม 11
การกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดในยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 วัตถุประสงค์หลักที่ 3 เพื่อพัฒนาระบบ กลไก และมาตรการที่สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนโดยเฉพาะภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมต่อต้านการทุจริตเกิดความไว้ว่างใจ และเชื่อมั่นในความปลอดภัย ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตัวชี้วัด 1. ระดับความสำเร็จของการบังคับใช้กฎหมายการคุ้มครองพยานและผู้แจ้งเบาะแสอย่างมีประสิทธิภาพ 2. จำนวนเครือข่ายเพื่อร่วมขับเคลื่อนการป้องกันและปราบปรามการทุจริตทั้งในประเทศและต่างประเทศเพิ่มขึ้น 3. ร้อยละความพึงพอใจของภาคีทุกภาคส่วนที่มีต่อระบบแจ้งเบาะแสการทุจริต 4. ระดับความเป็นอิสระของสื่อและการเข้าถึงข้อมูลของประชาชน 12
การกำหนดเป้าหมาย ยุทธศาสตร์ และตัวชี้วัดในยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 วัตถุประสงค์หลักที่ 4 เพื่อยกระดับสมรรถนะการดำเนินงานของหน่วยงานต่อต้านการทุจริตในด้านการต่อต้านทุจริตให้เท่าทันสถานการณ์และได้มาตรฐานสากล ยุทธศาสตร์ที่ 5 เสริมสร้างองค์ความรู้ด้านการต่อต้านการทุจริตให้กับบุคลากรทุกภาคส่วน ตัวชี้วัด 1. ระดับความสำเร็จในการเตรียมความพร้อมการพัฒนากลไกความร่วมมือและมาตรการทางกฎหมายรองรับการจัดตั้งประชาคมอาเซียนว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 2. ระดับความสำเร็จการจัดตั้งฐานข้อมูลกลางและองค์ความรู้ที่เท่าทันสถานการณ์เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย การพัฒนาบุคลากรและกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 3. ระดับความสำเร็จในการปรับปรุงและพัฒนากฎหมาย การจัดทำมาตรการ และกลไก การป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่สอดคล้องกับอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริตค.ศ. 2003 13
ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตระยะที่ 2 ปัจจุบันการจัดทำยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 ได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว และคณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติเห็นชอบกับยุทธศาสตร์ดังกล่าวเมื่อวันที่ 9 มกราคม 2557 (ภายหลังการปรึกษาหารือกับ 7 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ เพื่อใช้เป็นแนวทางขับเคลื่อนไปพลางก่อนและพร้อมที่จะนำเข้าหารือกับทุกภาคส่วนอย่างเป็นทางการเพื่อกำหนดเป็นวาระแห่งชาติโดยเร็วที่สุดเมื่อมี “รัฐบาลถูกต้องตามกฎหมาย (Legitimate Government)”
ผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 การเปลี่ยนแปลงสู่...สังคมร่วมต้านทุจริต พิชิตคอร์รัปชัน • ภาครัฐ...การต่อต้านทุจริตมีความเคลื่อนไหว มีแนวทางชัดเจนขึ้น • ครม. มีมติที่สำคัญหลายครั้งเกี่ยวกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ • พัฒนาเครือข่ายประชาชนป้องกันปราบปรามทุจริตโดยการริเริ่มของภาครัฐ • ไทยเข้าเป็นรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC) • มีกฎหมายใหม่ที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการต่อต้านการทุจริตอย่างมีประสิทธิภาพ • ภาคเอกชน...ตื่นตัว เคลื่อนไหว แสดงจุดยืน “ต่อต้านทุจริต” • แสดงบทบาทเชิงรุก/บทบาทนำการร่วมมือแก้ปัญหาการทุจริตในระดับประเทศ • มีโครงการร่วมต่อต้านการทุจริตในภาครัฐ ที่เอกชนมีบทบาทเชิงรุก ได้แก่ โครงการ Collective Action และโครงการหมาเฝ้าบ้าน (Watch Dog) • ภาคประชาสังคม และสื่อ...กระตุ้น สร้างความตระหนัก สังคมตื่นตัว เกิดจิตอาสา • สร้างความตื่นตัว พัฒนาจิตอาสา นำไปสู่เครือข่ายต่อต้านการทุจริตที่เข้มแข็ง • ปลูกจิตสำนึก ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรม ในเด็ก/เยาวชน (โครงการโตไปไม่โกง) • สื่อมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการป้องกัน ตรวจสอบ เฝ้าระวัง โดยเฉพาะการทุจริตเชิงนโยบายและมีการพัฒนาตนเองตลอดเวลา • กลไกศาสนาและการศึกษา...กล่อมเกลา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจิตสำนึก • ใช้หลักและคำสอนของแต่ละศาสนาปลูกจิตสำนึกที่ดีของเด็กและเยาวชน • ปลุกจิตสำนึกประชาชนให้ตระหนักว่าการต่อต้านการทุจริตเป็นส่วนหนึ่งของความรับผิดชอบของศาสนิกชนที่ดี
ผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 ปัญหา อุปสรรคการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1 ปัญหาภายใน (ปัญหาการบริหารจัดการของสำนักงาน ป.ป.ช. ในฐานะ ผู้ประสานการขับเคลื่อนหลัก ; Prime Mover) ปัญหาภายนอก • การประสานความร่วมมือ ไม่มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบชัดเจน (ไม่มีเจ้าของเรื่อง) • ภาคีเครือข่ายขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ในลักษณะต่างคนต่างทำ • องค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานภาครัฐยังไม่ได้เข้ามาร่วมผนึกกำลัง • ภาคเอกชนที่ร่วมเป็นแนวร่วมปฏิบัติยังมีจำนวนจำกัด • ฝ่ายบริหารและนิติบัญญัติยังไม่ได้สนับสนุนอย่างเพียงพอ • ภาคประชาสังคมและภาคประชาชนยังข้อจำกัดในการเข้าร่วมเนื่องจากขาดทรัพยากรสนับสนุน • ขาดการประสานงานของกลไกการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ฯ ระหว่างอนุกรรมการฯ ภาคีต่างๆ • ขาดการประสานงานภายใน ระหว่างสำนักต่างๆ ส่วนกลางและภูมิภาค และกลไกขับเคลื่อนระดับจังหวัด • ขาดการวัดการบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติฯ และเป้าหมายขององค์กร ของผลลัพธ์ (Outcome) และผลกระทบ (Impact) ของกิจกรรมการป้องกัน • แนวทางการติดตามประเมินผลยังไม่ชัดเจน และไม่ต่อเนื่อง (ขาดกลไกในการติดตามความก้าวหน้าและระบบการประเมินผลที่เหมาะสม • กฎ ระเบียบและหลักเกณฑ์ในการปฏิบัติงาน ;- ยังคงมีแนวคิดเดียวกับส่วนราชการ ไม่คล่องตัว • ข้อจำกัดด้านงบประมาณ บุคลากร
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 มีการปรับแก้ โดยเฉพาะ • ภาครัฐ จะต้องให้รัฐบาลมีการแถลงนโยบายกำหนดเป็นวาระแห่งชาติในการต่อต้านทุจริต • องค์กรหน่วยงานสำคัญทุกหน่วยงานที่มีบทบาทหน้าที่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์ชาติฯ ต้องมีการจัดทำ MOU ระหว่างกัน
(ตัวอย่าง) การกระชับความร่วมมือกับหน่วยงานหลัก (Key Strategic Partner) โดยมีการจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ (สตช.) ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย • หน่วยงานต่อต้านการทุจริตและสิทธิพลเมือง สาธารณรัฐเกาหลี
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 จะมีการปรับแก้ (ต่อ)
มาตรการเสริมด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่สำคัญมาตรการเสริมด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตที่สำคัญ • การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม • ห้ามเจ้าพนักงานของรัฐ (ที่มีอำนาจกำกับ ดูแล ควบคุม ตรวจสอบหรือดำเนินคดี) • เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาที่ทำกับหน่วยงานของรัฐ • เป็นหุ้นส่วน หรือผู้ถือหุ้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทที่เป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ • รับสัมปทานหรือคงถือไว้ซึ่งสัมปทานจากรัฐฯ หรือเข้าเป็นคู่สัญญากับรัฐอันมีลักษณะผูกขาดไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม หรือเป็นหุ้นส่วน/ผู้ถือหุ้นในห้าง/บริษัทที่รับสัมปทาน/เข้าเป็นคู่สัญญาในลักษณะดังกล่าว ระบบประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity&Transparency Assessment : ITA)เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐทราบถึงระดับคุณธรรมความโปร่งใส และข้อจำกัดในการดำเนินงาน และพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานให้มีความเป็นธรรม มีความโปร่งใสมากยิ่งขึ้น และนำไปสู่การยกระดับส่งเสริมภาพลักษณ์คอร์รัปชั่นของประเทศให้สูงขึ้น • ITA • ม.100 หลักเกณฑ์การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด โดยธรรมจรรยาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ พ.ศ. 2543 (มาตรา 103)ห้ามมิให้เจ้าหน้าที่ของรัฐผู้ใดรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดจากบุคคล นอกเหนือจากทรัพย์สินหรือประโยชน์อันควรได้ตามกฎหมาย หรือกฎ ข้อบังคับที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เว้นแต่การรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา ตามหลักเกณฑ์และจำนวนที่คณะกรรมการ ป.ป.ช.กำหนด • การบริหารความเสี่ยงด้านการจัดซื้อจัดจ้าง • โครงการปฏิบัติการร่วมภาคเอกชนป้องกันการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ (Collective Action Against Corruption) การป้องกันทุจริตการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ม. 103 การตลาดเชิงสังคม (Social Marketing) • การเปิดเผยราคากลางไว้ในระบบข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าตรวจดูได้ และการแสดงบัญชีรายรับรายจ่ายของโครงการที่เป็นคู่สัญญากับหน่วยงานของรัฐ เพื่อสร้างความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐ • การใช้แนวทาง “การตลาดเชิงสังคม” ในการประชา สัมพันธ์และการรณรงค์สร้างกระแสต้านทุจริต ม. 103/7
จากบทเรียนจากการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 1ในช่วงของยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 จะมีการปรับแก้ (ต่อ)
แนวทางการติดตาม ความก้าวหน้าและประเมินผลการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 2 • ขอบเขต • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานทั้งที่ดำเนินการโดย ป.ป.ช. องค์กรตามรัฐธรรมนูญ ภาครัฐ และภาคีอื่นๆ • ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ดำเนินงานทั้ง ก่อน–ระหว่าง– สิ้นสุดการดำเนินงานแผนยุทธศาสตร์ชาติฯ 2 • ติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประเมินผลสำเร็จระดับผลลัพธ์ และ ผลกระทบ การปรับปรุงแผนฯ แผนงาน และ โครง การเชิงยุทธ์ อย่างต่อเนื่อง
ความเชื่อมโยงระหว่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฯและแผนยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช.ฯ ยุทธศาสตร์ชาติฯ ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556-2560) • วิสัยทัศน์ • “สังคมไทยมีวินัย โปร่งใส ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม และร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริต เป็นที่ยอมรับในระดับสากล” • ยุทธศาสตร์ที่ 1ปลูกและปลุกจิตสำนึกการต่อต้านการทุจริต เน้นการปรับเปลี่ยนฐานความคิดของคนในทุกภาคส่วนในการรักษาประโยชน์สาธารณะ • ยุทธศาสตร์ที่ 2บูรณาการการทำงานของหน่วยงานในการต่อต้านการทุจริตและพัฒนาเครือข่ายในประเทศ • ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาความร่วมมือกับองค์กรต่อต้านการทุจริตและเครือข่ายระหว่างประเทศ • ยุทธศาสตร์ที่ 4 • พัฒนาระบบบริหารและเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต • ยุทธศาสตร์ที่ 5เสริมสร้างองค์ความรู้ • ด้านการต่อต้านการทุจริตให้กับบุคลากรทุกภาคส่วน ยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) • วิสัยทัศน์ • “เป็นองค์กรหลักในด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นที่ยอมรับและเชื่อมั่นทั้งในและต่างประเทศ” • ยุทธศาสตร์ที่ 1สนับสนุนให้มีการสร้างเสริมค่านิยมสุจริตและมีระเบียบวินัย • ยุทธศาสตร์ที่ 4 • พัฒนาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้และบริหารจัดการที่ดี ยุทธศาสตร์ที่ 5เสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการประชาสัมพันธ์ (ด้วยเทคนิค Social Marketing) • ยุทธศาสตร์ที่ 2พัฒนากลไกและรูปแบบในการป้องกัน ตรวจสอบทรัพย์สิน และปราบปรามการทุจริต • ยุทธศาสตร์ที่ 3พัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานร่วมมือกับเครือข่ายภาคีทุกภาคส่วนทั้งในประเทศและต่างประเทศ
กลไกขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. 5 ปี (พ.ศ. 2556-2560) ปรับปรุงกลไกในการบริหารขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สำนักงานฯ และเชื่อมโยงการทำงานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ 1 2 3 4 มีกลไกการ บูรณาการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติระหว่างสำนักงาน ป.ป.ช. และองค์กร ตามรัฐธรรมนูญอื่นๆ • มีการกำหนดบทบาทความรับผิดชอบของฝ่ายบริหารสำนักงาน ป.ป.ช. มีกลไกประสานและบูรณาการดำเนินงานระหว่างส่วนกลางกับส่วนภูมิภาค • มีการกำหนดระบบการประมวลผลข้อมูลและการติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนอย่างเป็นระบบ
แนวทางการประสานการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. กับภายนอก บูรณาการแนวทาง การดำเนินงานฯ • บูรณาการการทั้งในด้านการวางแผน ขับเคลื่อน และติดตามประเมินผล • ความร่วมมือด้านการศึกษา วิจัย และความร่วมมือในมิติอื่นๆ • พัฒนาระบบฐานข้อมูลกลางและวางระบบสารสนเทศเชื่อมโยงระหว่างหน่วยงาน • ขยายความร่วมมือในการปฏิบัติตามมาตรการเสริม เช่น ม.103/7 ,Collective Action) • ส่งเสริมการสร้าง Strong Commitment โดยนำหลักบรรษัทภิบาล(CG) และความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) มาใช้อย่างจริงจัง • ปรับฐานความคิดของนักการเมืองในการมีเจตนารมณ์แน่วแน่ที่จะกระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดีและสนับสนุนงานต่อต้านการทุจริต • สร้างความตระหนักและส่งเสริมให้ข้าราชการปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม • สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนในระดับนานาชาติ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและมาตรฐานในการปฏิบัติงานสอดคล้องกับสากล • พัฒนากลไกความร่วมมือภายในกลุ่มอาเซียนที่มีข้อผูกพันทางกฎหมายเต่อต้านการทุจริตและอาชญากรรมข้ามชาติ • ให้ความรู้กับประชาชน สร้างทัศนคติต่อต้านคอร์รัปชั่นและปลูกฝังค่านิยมคุณธรรมจริยธรรมสู่สังคมเพื่อให้สังคมตื่นตัวและมีแนวความคิดในการต่อต้านคอร์รัปชั่นที่ชัดเจน
การจัดกลุ่มทำงานร่วมกันตามภารกิจ (Agenda Based Model) คือ การจัดกลุ่มการทำงานโดยมุ่งเน้นให้ภารกิจประสบความสำเร็จและนำเอาภารกิจเป็นตัวตั้งในการสร้างรูปแบบการทำงาน ซึ่งรูปแบบการทำงานนั้นจะเอื้ออำนวยให้เกิดการประสานงานและทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานมากขึ้น การทำงานแบบ Functional Based หน่วยงาน A หน่วยงาน B เป้าหมาย/งาน (Agenda) หน่วยงาน C หน่วยงาน D ผลการปฏิบัติงาน การทำงานแบบ Agenda Based/Cross Functional Team หน่วยงานA Cross Functional Team หน่วยงานD หน่วยงานB เป้าหมาย/งาน (Agenda) ผลการปฏิบัติงาน # 3 ผลการปฏิบัติงาน # 2 ผลการปฏิบัติงาน # 1 หน่วยงานC *
โครงสร้างการบริหารราชการตามยุทธศาสตร์โครงสร้างการบริหารราชการตามยุทธศาสตร์ จังหวัด จังหวัด จังหวัด จังหวัด จังหวัด จังหวัด …… …… …… รองเลขาฯ 6 (ด้านบริหาร) เลขาธิการฯ ผู้ช่วยเลขาฯ 6 หน่วยงานอื่น รองเลขาฯ 3 รองเลขาฯ 2 รองเลขาฯ 1 … ผู้ช่วยเลขาฯ 1 ผู้ช่วยเลขาฯ 2 ผู้ช่วยเลขาฯ 3 ยุทธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์ 1 ยุทธศาสตร์ 2 ยุทธศาสตร์ชาติ สำนัก สำนัก สำนัก สำนัก สำนัก สำนัก ยุทธศาสตร์ สนง. ภาค 1 ผู้ช่วยเลขาฯ (ด้านการตรวจฯ ) บูรณาการงาน ตามพันธกิจ งานเชิงพื้นที่ และยุทธศาสตร์ มาตรการเสริม/ แนวทาง ภาค 2 ผู้ช่วยเลขาฯ (ด้านการตรวจฯ ) ภาค 3 มาตรการเสริม/ แนวทาง ...
ส่วนที่ 1 แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติและยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. โดยทีมผู้บริหาร (รองเลขาธิการฯ , ผู้ช่วยเลขาธิการฯ และผู้อำนวยการสำนัก)
ส่วนที่ 2 การจัดแบ่งยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. และหน่วยภายในให้ทีมบริหาร (รองเลขาธิการฯ , ผู้ช่วยเลขาธิการฯ และผู้อำนวยการสำนัก) รับผิดชอบรายยุทธศาสตร์ของหน่วยงานภายนอกที่รับผิดชอบ ประสานงาน และสำนักที่ควบคุมกำกับดูแล
ความเชื่อมโยงการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯ แผนยุทธศาสตร์ฯสำนักงาน ป.ป.ช. และแผนยุทธศาสตร์ ป.ป.จ. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 บริบทสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการทุจริต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ องค์กรตามรัฐธรรมนูญ หน่วยราชการในสังกัดกระทรวง (กรม/หน่วยงานเทียบเท่ากรม/จังหวัด/รัฐวิสาหกิจ) การแก้ไขปัญหาระดับชาติเพื่อเพิ่มค่าคะแนน CPI ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม การทุจริต ระยะที่ 2 (พ.ศ. 2556 - 2560 ) แผนปฏิบัติการประจำปี • แผนงาน-โครงการ • เชิงยุทธฯ ป.ป.ช. ส่วนกลาง การทำหน้าที่ในฐานะผู้ประสานการขับเคลื่อนฯ (Prime Mover) ได้อย่างเต็มฐานานุรูป เพื่อลดปัญหาทุจริตในภาพรวมของประเทศ แผนยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. 5 ปี (พ..ศ. .2556 - 2560) หน่วยงานระดับสำนักฯ สำนักงาน ป.ป.ช. สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัด/ องค์กรตามรัฐธรรมนูญอื่นๆและส่วนราชการในพื้นที่ แผนยุทธศาสตร์ฯ ป.ป.จ. • แผนงาน-โครงการเชิงยุทธฯป.ป.ช.จังหวัด กำหนดแนวทางแก้ไขปัญหาการทุจริตการประสานภารกิจของหน่วยงานในพื้นที่ โดยเอาพื้นที่เป็นตัวตั้ง มีทิศทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ มีความเหมาะสม สามารถปฏิบัติได้จริง สามารถชี้แจงได้ถึงประโยชน์และความเปลี่ยนแปลงเชิงยุทธ์ฯ ที่จะเกิดขึ้น สภาวะแวดล้อม และความต้องการจังหวัด สภาพปัญหา การทุจริตส่วนราชการในพื้นที่ แผนพัฒนาจังหวัด แผนงานท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง บทบาทอำนาจหน้าที่ของ สปจ.และส่วนราชการในพื้นที่ แผนองค์กรตามรัฐธรรมนูญ แผน ปปท.
บทบาทของกระทรวงคมนาคม ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ ฯ
แนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกระทรวง / หน่วยงานในสังกัดกระทรวง (กรม/หน่วยงานเทียบเท่ากรม/จังหวัด/รัฐวิสาหกิจ) ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2556 - 2560 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ แผนยุทธศาสตร์ฯป้องกันและปราบปราม การทุจริตของกระทรวง/หน่วยงานขึ้นตรงฯ (ศปท.) หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นโยบายรัฐบาล/ แผนบริหารราชการแผ่นดิน แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง (กรม/หน่วยงานเทียบเท่ากรม/จังหวัด/รัฐวิสาหกิจ) สภาพปัญหาการทุจริต ในส่วนราชการในสังกัด บทบาทและอำนาจหน้าที่ของ ศปท./ส่วนราชการในสังกัด บริบทสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการทุจริต
บทบาทของกระทรวงคมนาคมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 2 1 จัดทำ / ปรับปรุงแผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของกระทรวงคมนาคมแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติการประจำปี ของหน่วยราชการในสังกัดให้ สอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธฯชาติ ยุทธฯ ภาครัฐ ยุทธ ฯ ศปท. . กำกับ ควบคุม กำกับดูแล หน่วยราชการในสังกัดเพื่อให้มีการดำเนินการตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติฯ 2 3 ติดตามประเมินผลการดำเนินงานหน่วยราชการในสังกัดและรายงานผลความก้าวหน้าตามประเด็นยุทธศาสตร์ชาติฯพร้อมทั้ง “ ประเมินระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ” โดยใช้ดัชนี ITA ตลอดจนมีการบูรณาการ “ประเมินความเสี่ยงและบริหารจัดการความเสี่ยงต่อการทุจริตในโครงการของหน่วยงานภาครัฐ ” 4 สนับสนุนการดำเนินการตามมาตรการเสริมของคณะกรรมการ ป.ป.ช.
แนวทางการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติฯระยะที่ 2 ; ความสัมพันธ์กระทรวง & ศปท. ยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต (ระยะที่ 2) พ.ศ. 2556 - 2560 แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตภาครัฐ แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงานในสังกัดกระทรวง (กรม/หน่วยงานเทียบเท่ากรม/จังหวัด/รัฐวิสาหกิจ) แผนฯประจำปี หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง แผนปฎิบัติราชการ 4 ปีของกรม/ หน่วยงานเทียบเท่ากรม/จังหวัด/รัฐวิสาหกิจ • กรม แผนปฎิบัติราชการ 4 ปีของกระทรวง Cascading • กรม • กรม • .... เรื่อง ร้องเรียน • กระทรวง.... 1 นำสู่ปฏิบัติ 2 4 ปรับปรุงแผนปฎิบัติราชการ 4 ปี ของ ส่วนราชการให้สอดคล้องกับยุทธฯชาติ /ยุทธฯภาครัฐ / ยุทธฯศปท. 3 Update (ในประเด็นยุทธฯชาติ/ยุทธด้านธรรมาภิบาล) ศปท.+ กระทรวงฯ ศปท. • ปปช.(ศูนย์ประมวลข้อมูล) • สำนักงาน ปปท. 7 8 • จัดทำรายงาน • ติดตามผล • ครม. • สำนักงาน กพร. 6 5 ติดตามผลการ ดำเนินงานของส่วนราชการ รายงานผลการดำเนินงานแผนปฏิบัติราชการประจำปี & ความก้าวหน้าตามประเด็นยุทธฯชาติ ศูนย์ปฏิบัติการฯ จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงานในภาพรวมฯ หมายเหตุ : แหล่งที่มาของข้อมูล ส.ก.พ.ร
การวางแผนยุทธศาสตร์ และ การแปลงสู่ปฏิบัติ (โดยสรุป)
S W O T Analyses การวางแผนยุทธศาสตร์และการแปลงสู่ปฏิบัติ (โดยสรุป) กรอบการคิดเชิงยุทธศาสตร์ • Mandates • Legislation • Policies • charter • Local gov. • philosophy • principles • practices Evalution Criteria The Stratergic issues Problems to be addressed /Demands to be met Monitoring and Review Review outcome of implementation and refine / refocus strategies Values Stakeholders expectation Implementation Actions, Programs, Projects, Budgets and performance measures The Strategy Responsibilities of the Local Government, the community, private organizations and individuals The Options Development service delivery and service level choices Community expectation VISION (Desired Future) • Situation Analyses • External Influence • Local conditons • Constrains Priorities / Trade-offs Likely futures Phase 4; What actions must we take to get there? Phase 3; What issues do we need to address? Phase 1; Where are we now? Phase 2; Where would we like to be? Source; Nathaniel von Einsiedel; How to prepare a city strategic plan ; 9/May/97 การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/กรกฏาคม/2542
ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์ (ขั้นตอนการวางแผนฯ เบื้องต้น ; Strategic Steps) ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก และ ติดตาม การประเมิน กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน 2 3 4 1 5 ดีที่สุด 3 4 5 1 2 แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้เป็นคู่แข่งที่ดีที่สุด 1 3 2 4 5 แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาให้อยู่ได้ดีที่สุดตามศักยภาพแวดล้อม ขออยู่รอด ดีกว่าเดิม แผนกลยุทธ์ เพื่อ พัฒนาตามสภาวะแวดล้อมให้อยู่รอด การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เม.ย/2547
ขั้นตอนการวางแผนงานฯ(ศปท.กระทรวงฯ)ขั้นตอนการวางแผนงานฯ(ศปท.กระทรวงฯ) การยกร่าง และกำหนด ยุทธศาสตร์ (กลยุทธ์) การ พัฒนา กำหนดทิศทาง พัฒนาองค์กร ด้าน วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์หลัก ปรับยุทธการ ดำเนินการ ด้านกลไก และ ติดตาม การประเมิน การวิเคราะห์ ภาวะแวดล้อม ภายนอก และ ภายใน กำหนด ยุทธวิธี (กลวิธี) การ ดำเนินงาน • การประเมิน • สภาวะแวดล้อม • ประเมินจากภารกิจที่ทำอยู่เดิม • (ภารกิจหลักและเงื่อนไข) • ประเมินจากรายงานผล • การติดตามประเมินผลเดิม • (ศักยภาพและปัญหาการดำเนินการ • ตามประเด็นเชิงยุทธ์ที่เกี่ยวข้องกับ • การส่งเสริมธรรมาภิบาล) • การจัดลำดับ • ความสำคัญ • สภาวะแวดล้อม • การกำหนด • กลไกการขับเคลื่อน • และ • แนวทางการประเมินผล • กลไกปฎิบัติภายใน • กลไกประสานภายนอก • กลไกการติดตามประเมินผล • กลไกการปรับแผน/แผนงาน • และโครงการ • ฯลฯ • การปรับร่าง • ยุทธศาสตร์และ • แนวทางหลัก • การทบทวนและกำหนด • ยุทธศาสตร์ด้าน • การเสริมสร้าง • คุณธรรมและจริยธรรม • การทบทวนและกำหนด • ยุทธศาสตร์ด้าน • การบริหารจัดการที่ดี • การประสานความ • ร่วมมือด้านการ • สนับสนุนมาตราการเสริม • การปรับร่าง • แนวคิด/ทิศทาง • การดำเนินการฯ • ประมวลจาก สาระชี้นำด้าน • ทิศทางของยุทธศาสตร์ฯชาติ ๒ • ตรวจสอบความสอดคล้อง • ของทิศทางกับแผนฯกระทรวง/กรม • ตรวจสอบพันธกิจและ • มาตราการเสริมที่เกี่ยวข้อง • การจัดลำดับ • ความสำคัญ • และกำหนด • Project Ideas • แผนงานโครงการ • เชิงยุทธ์ • แผนงาน • โครงการประจำ การวางแผนกลยุทธ์ อุทิศ/เม.ย/2547
เป้าประสงค์ : พันธกิจ มิติด้านกลุ่มเป้าหมาย มิติด้านสาธารณะ “ผลงานคุ้มในสายตาสาธารณะ” “ผลงานที่กลุ่มเป้าหมายได้” มิติด้านการจัดการ(ภายใน) “การบริหารแลระบบการทำงานที่ดี” มิติด้านการแข่งขันอยู่รอด “การเรียนรู้และการปรับสมรรถนะ” ความสัมพันธ์ การกำหนด แผนงาน โครงการเชิงยุทธ์ SWOT ดัชนี วัตถุประสงค์ (ผลลัพธ์) เป้าประสงค์ พันธกิจสมมุติ ภาพอนาคต B S C . &Dev. Process • โครงการเชิงยุทธ์ • รองรับยุทธศาสตร์แผนงานขององค์กร • สอดรับวัตถุประสงค์แผนฯโดยตรง • แนวทางดำเนินการใหม่สู่ผลสัมฤทธิ์การพัฒนาที่ดีกว่า ทั้งระยะ สั้น-ยาว • ขยายการพัฒนาให้ อยู่รอด แข่งขันได้ ยุทธศาสตร์ Strategy Map ประสบการณ์ ร่างแผนงาน แผน ยุทธ์ • โครงการประจำ • เป็นงานตามบทบาทหน่วย ตามระบียบ • อาจสนองความต้องการที่ยังมีอยู่สูง • อาจแก้ไขปัญหาสำคัญที่ต่อเนื่อง • เปลี่ยนแปลงแต่ไม่พัฒนา องค์ประกอบโครงการเชิงยุทธ์/เบื่องต้น (1-3ปีแรก) ดัชนี ผลผลิต รายละเอียด แผนงาน-โครงการเชิงยุทธ์ ขั้นปฏิบัติการ แผน ปฏิบัติ รายละเอียด แผนงาน-โครงการประจำ ขั้นปฏิบัติการ อุทิศ พ.ค. ‘48
การวิเคราะห์ SWOT พิจารณาจากภารกิจและเงื่อนไขที่ต้องเผชิญ และผลการประเมิน “ความสำเร็จและล้มเหลวของการดำเนินการที่ผ่านมา” บทบาทตัวแปร ; มีบทบาทและหรือผลกระทบ-คุณลักษณะทั้ง ทางบวกและลบต่อการพัฒนา (สูตรการวิเคราะห์ SWOT) ภาวะแวดล้อมที่ชัดเจน = ตัวแปร + บทบาทตัวแปร ตัวแปร บทบาทตัวแปร เหนือกรอบฯ บวก/ลบ เขา/เรา กรอบชี้นำ การวิเคราะห์ SWOT (ภารกิจเดิม และเงื่อนไข) เขา/เรา บวก/ลบ บวก/ลบ เขา/เรา ต่ำกว่ากรอบฯ ภาวะแวดล้อม อุทิศ เม.ย 2544
ตัวแปร บทบาท และ ภาวะแวดล้อมที่เกิด โอกาส เขา บวก ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม ที่มีบทบาทเป็น กำกับไม่ได้ ภาวะคุกคาม ลบ ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม จุดแข็ง บวก เรา ที่มีบทบาทเป็น ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม กำกับได้ จุดอ่อน ลบ ก่อเกิดสภาวะแวดล้อม ที่มีบทบาทเป็น อุทิศ ขาวเธียร กค.2545
โอกาส VENTURE PatternPreactive orientation (p - p - f +) QUEST PatternInteractive Orientation (p+ p+ f+) จุดอ่อน จุดแข็ง PARLAY Pattern Inactive Orientation (p- p+ f-) SAGA PatternReactive Orientation(p+ p- f-) ข้อจำกัด กำหนดยุทธศาสตร์ทางเลือก ในกรณีที่มีปัจจัยนำชัดเจน ยุทธศาสตร์แก้ไขปัญหา4รูปแบบขององค์กร(มียุทธศาสตร์หลักและข้อคำนึงที่เกี่ยวข้อง) เสริมและใช้ โอกาส-จุดแข็ง (รุกมากกว่ารับ) (ยุทธศาสตร์ประเภท ลองเสี่ยง-ปรับปรุง) (ยุทธศาสตร์ประเภท ลุย-เร่งขยาย) นำด้วย O S(W T อาจเป็นข้อคำนึง) นำด้วย O W(S T อาจเป็นข้อคำนึง) ยุทธศาสตร์ ที่เหมาะสม เป้าประสงค์ แก้ไขและป้องกัน จุดอ่อน-อุปสรรค (รับมากกว่ารุก) (ยุทธศาสตร์ประเภท ลด เลิก โอนย้าย) (ยุทธศาสตร์ประเภท ไม่เสี่ยง-รักษาสภาพ) นำด้วย W T(S O อาจเป็นข้อคำนึง) นำด้วย T S(W O อาจเป็นข้อคำนึง) ยุทธ/แผนงานที่น่าจะเป็น ช่วงสั้น ช่วงสั้น-ยาว “องค์กรอาจต้องมีแนวทางและทางเลือกแก้ไขปัญหาหลายด้าน/ต้องพิจารณาหาลำดับความสำคัญแนวทางเลือก” (บันทึกจากประสบการณ์บรรยายที่มหาวิทยาลัยเกษตร อาจารย์ประจำวิชา วางแผนยุทธศาสตร์เมือง ) การวางแผนยุทธศาสตร์ อุทิศ/กันยายน/2542
การกำหนดกลยุทธ์การพัฒนาการกำหนดกลยุทธ์การพัฒนา O W T S ยุทธศาสตร์&ยุทธวิธี สภาวะใหม่ ความคิดใหม่ หรือ แผนงาน-โครงการ ประสพการณ์& ความชำนาญ การเรียนรู้ ความคิดริเริ่ม-ทางเลือก หลักการ-ทฤษฎี BSC นโยบาย&การเมือง การวางแผนกลยุทธ อุทิศ/ธ.คม/2544
1. ทบทวนว่าต้องดำเนินการเรื่องใดบ้าง ถ้าต้องการบรรลุวัตถุประสงค์ สปจ. 9 เป็นองค์กรที่สาธารณะรู้จัก ศรัทธา และวางใจ 1.2 หนทางปฏิบัติที่ต้องคำนึงถึง ทั้งภายนอก-ภายในองค์กร 1.1ภาระกิจหลักที่เกี่ยวข้องที่ “ต้องทำ”/ “ต้องประสาน” • “เข้าใจ” • เข้าใจความต้องการและมุมมองหน่วยงานภาครัฐของคนในพื้นที่ • เข้าใจมุมมองปัญหาทุจริตและแนวทางแก้ไขของคนในพื้นที่ • เข้าใจคำสอนและค่านิยมทางศาสนาที่เกี่ยวข้อง • “เข้าถึง” • สร้างวิทยากรเผยแพร่ ปลูกฝังค่านิยมต่อต้านการทุจริต • จัดทำเครื่องมือ/สาระ/สื่อ/คู่มือ • ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง • “พัฒนา” • สังคมยุติธรรม ไม่เอาเปรียบโดยการทุจริต • สนับสนุนยกย่องคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริตในพื้นที่ • จัดทำโครงการสัมมนา • หาอาสาสมัครเพื่อเผยแพร่ • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ • มีกิจกรรมพบปะชุมชนอย่างต่อเนื่อง • เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน • เพิ่มช่องทางและเวลาในการเข้าถึงระหว่าง สนง ปปช และ ประชาชน • จัดกิจกรรมเชิดชูเกรียติแก่ผู้ทำคุณงามความดีแก่สังคม • มีการประเมินและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการ 1.4เป็นประเด็นการดำเนินการแง่ “ What to do ? ” ในการ • 1.3การดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับวงจรการผลิต/บริการทั้ง “Input / Process / Out put ” • -ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย ข้อมูลและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง • - วางแผนการจัดกิจกรรม/โครงการ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ • - ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • - ดำเนินโครงการ • กำกับติดตาม ประเมินผล • ปรับปรุงแก้ไข • บริหาร/จัดการ : เร่งนำเสนอโครงการ เพื่อดำเนินการปี 56 • ดำเนินการ/ปฏิบัติการ : ต้องการ CEO เฉพาะด้าน • สนับสนุน/กำกับ : คณะกรรมการ ป.ป.ช. • ผลักดันให้ต่อเนื่อง: ของบประมาณต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีแรก • ฯลฯ 2. ตรวจสอบว่าเรื่องที่ต้องดำเนินการ (ตามข้อ 1.) มี SWOT ตัวใดเกี่ยวข้องอยู่บ้าง เพื่อจัดทำยุทธศาสตร์ให้มีรูปแบบที่เหมาะสมสอดคล้องกับตัวแปรที่เกี่ยวข้อง O O9a, O7b, O8b, O3c, O5c, O6c, O12c, O13c, O4d S S1a, S2a, S8a, S3b, S7b, S12c มีข้อมูลการวิเคราะห์สภาวะแวดล้อมเพียงพอที่จะยกร่างยุทธศาสตร์ได้ทั้ง 4 ประเภท T T11a, T12a, T6b, T10b, T4c, T7c, W W1a, W13a, W10b, W11b, W3c, W12c ข้อมูลจากการวิเคราะห์ SWOT ที่ได้จัดทำไว้แล้ว เลือกกำหนดยุทธศาสตร์ ที่มีลำดับความสำคัญสูงก่อน
ตัวอย่าง; การกำหนดยุทธศาสตร์รองรับวัตถุประสงค์หลักของแผนฯ วัตถุประสงค์หลัก 1 สปจ. 9 เป็นองค์กรที่สาธารณะรู้จัก ศรัทธา และวางใจ 1.2 หนทางปฏิบัติที่ต้องคำนึงถึง ทั้งภายนอก-ภายในองค์กร 1.1หลักการ-ภาระกิจหลักที่เกี่ยวข้องที่ “ต้องทำ”/ “ต้องประสาน” • “เข้าใจ” • เข้าใจความต้องการและมุมมองหน่วยงานภาครัฐของคนในพื้นที่ • เข้าใจมุมมองปัญหาทุจริตและแนวทางแก้ไขของคนในพื้นที่ • เข้าใจคำสอนและค่านิยมทางศาสนาที่เกี่ยวข้อง • “เข้าถึง” • สร้างวิทยากรเผยแพร่ ปลูกฝังค่านิยมต่อต้านการทุจริต • จัดทำเครื่องมือ/สาระ/สื่อ/คู่มือ • ขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง • “พัฒนา” • สังคมยุติธรรม ไม่เอาเปรียบโดยการทุจริต • สนับสนุนยกย่องคนดี มีความซื่อสัตย์สุจริตในพื้นที่ • จัดทำโครงการสัมมนา • หาอาสาสมัครเพื่อเผยแพร่ • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ • มีกิจกรรมพบปะชุมชนอย่างต่อเนื่อง • เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน • เพิ่มช่องทางและเวลาในการเข้าถึงระหว่าง สนง ปปช และ ประชาชน • จัดกิจกรรมเชิดชูเกรียติแก่ผู้ทำคุณงามความดีแก่สังคม • มีการประเมินและวิเคราะห์ผลการปฏิบัติการ 1.4เป็นประเด็นการดำเนินการแง่ “ What to do ? ” ในการ • 1.3การดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับวงจรการผลิต/บริการทั้ง “Input / Process / Out put ” • - ศึกษาวิเคราะห์ วิจัย ข้อมูลและองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง • - วางแผนการจัดกิจกรรม/โครงการ และมอบหมายผู้รับผิดชอบ • - ประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • - ดำเนินโครงการ • กำกับติดตาม ประเมินผล • ปรับปรุงแก้ไข • บริหาร/จัดการ : เร่งนำเสนอโครงการ เพื่อดำเนินการปี 56 • ดำเนินการ/ปฏิบัติการ : ต้องการ CEO เฉพาะด้าน • สนับสนุน/กำกับ : คณะกรรมการ ป.ป.ช. • ผลักดันให้ต่อเนื่อง: ของบประมาณต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีแรก • ฯลฯ ใช้ข้อมูลทั้งสองส่วนจัดทำยุทธศาสตร์ S S1a, S2a, S8a, S3b, S7b, S12c ยุทธศาสตร์สร้างศรัทธาและความไว้วางใจจากสาธารณะ (a : 41.6%, b : 33.3%, c : 25.0%) มุ่งสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับผู้เกี่ยวข้องและสาธารณะชน (เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา) ให้เกิดภาพลักษณ์และผลงานจากความเป็นองค์กรอิสระปราศจากการแทรกแซงทางการเมืองและความมุ่งมั่น ความพร้อมในการทำงานเป็นทีม (S8a, S1a, S2a) ให้เกิดความมั่นใจและความเชื่อถือในความเป็นมืออาชีพของ สปจ. ๙ (T11a, T12a) ภายใต้การสนับสนุนที่เข้มข้นของผู้บริหารในการผลักดันให้เกิดผลงานและศรัทธาจากประชาชน (S3b, S7b, S12c) โดยเสริมความรู้ด้านกฎหมายแก่ประชาชนและแนวร่วมภาคประชาชนที่จัดตั้งให้เกิดความมั่นใจในการเข้ามามีส่วนร่วมปฏิบัติภารกิจในเขตพื้นที่ล่อแหลมให้เกิดการปลูกฝังและกระตุ้นให้เกิดค่านิยมและวัฒนธรรมร่วมต่อต้านการทุจริต (T6b, T10b, T4c, T7c) T T11a, T12a, T6b, T10b, T4c, T7c,
(1/3) การเสนอโครงการสำนักงาน ป.ป.ช. (นย. 1) ยุทธศาสตร์ชาติฯ แผนยุทธศาสตร์สำนักงาน ป.ป.ช. 5 ปี แผนยุทธศาสตร์ป้องกันและปราบปรามการทุจริตจังหวัด 1. ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ 2. องค์ประกอบโครงการ 2.1 หลักการและเหตุผล 2.2 วัตถุประสงค์ 2.3 เป้าหมาย 2.4 ประโยชน์ที่จะได้รับ 2.5 สถานที่ดำเนินการ - เหตุผลความจำเป็นต้องดำเนินโครงการนี้ - สาเหตุของปัญหา ควรดูสิ่งที่คาดหวังว่าจะเกิดอันเนื่องมาจากความสำเร็จ ของโครงการ - นัยสำคัญเชิงยุทธ์ (ผลสัมฤทธิ์ [บูรณาการเชิงยุทธ์) • สิ่งที่ต้องการให้เกิด ทำเพื่ออะไร ทำแล้วได้อะไร • กลุ่มเป้าหมายเชิงยุทธ์ (Target Group, Target Area) - สิ่งที่ต้องการเกิดเชิงปริมาณ , คุณภาพ • บอกว่าหน่วยงาน องค์กรจะได้อะไรตอบแทนเมื่อทำโครงการเสร็จ (ผลกระทบ / ผลลัพธ์ จากการแก้ไขปัญหาการทุจริต) - โครงการนี้ดำเนินการทำที่ไหน
(2/3) การเสนอโครงการสำนักงาน ป.ป.ช. (นย. 1) 2.6 ขั้นตอนและระยะเวลาในการดำเนินการ 2.7 ตัวชี้วัดของผลลัพธ์ ผลผลิตการดำเนินโครงการ ผลผลิต ผลลัพธ์ วัตถุประสงค์ Objective ผลสัมฤทธิ์ Results ผลกระทบ Impacts ปัจจัยนำเข้า Input กิจกรรม Process ผลผลิต Output ผลลัพธ์ Outcomes ความมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิผล 7
(3/3) โครงการ ต้องทำร่วมกัน โครงการ ต้นน้ำ โครงการ ปลายน้ำ ความสัมพันธ์ การเสนอโครงการสำนักงาน ป.ป.ช. (นย. 1) ผลผลิต Output ผลลัพธ์ ตัวชี้วัด Outcomes ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ / ความพึงพอใจ , การใช้ประโยชน์ ฯลฯ สิ่งที่ได้รับจากโครงการ เชิงปริมาณ / หน่วยนับ 2.8 งบประมาณ และทรัพยากรอื่น ๆ 2.9 ผู้รับผิดชอบ 2.10 ผู้ที่เกี่ยวข้องได้อาจได้รับผลกระทบ 2.11 ความเสี่ยง 2.12 โครงการอื่นที่เกี่ยวข้อง 8
การบริหารจัดการองค์กรทั้งในภาครัฐและภาคส่วนต่างๆเป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลและเจ้าหน้าที่ของรัฐ (ข้าราชการ+ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง+เจ้าหน้าที่อื่นๆ) ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมอย่างเคร่งครัด เด็ก และเยาวชนได้รับการปลูกฝังจิตสำนึก ค่านิยม คุณธรรม • ประชาชนพึงพอใจในระดับคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ และร่วมแสดงบทบาทในการต่อต้านทุจริต • สามารถจัดการปัญหาทุจริตคอร์รัปชั่นได้อย่างมีประสิทธิภาพนำไปสู่พัฒนาการที่ดีขึ้นในภาพลักษณ์คอร์รัปชั่น (CPI) ของประเทศ • สังคมไทยเป็นสังคมที่มีวินัยโปร่งใสยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมและร่วมป้องกันและปราบปรามการทุจริตเป็นที่ยอมรับในระดับสากล