1 / 212

“กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก”

“กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก”. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชร. สุโขทัย. พิษณุโลก. ตาก. พื้นที่ 8,607 ตร. กม. ลักษณะภูมิประเทศ พื้นที่ราบลุ่มด้านตะวันตก และใต้ เนินเขาเตี้ยๆ สลับที่ราบ ทางตอนกลางและเหนือ

Download Presentation

“กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “กรุพระเครื่อง เมืองคนแกร่ง ศิลาแลงใหญ่ กล้วยไข่หวาน น้ำมันลานกระบือ เลื่องลือมรดกโลก”

  2. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชรข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชร สุโขทัย พิษณุโลก ตาก พื้นที่ 8,607 ตร.กม. • ลักษณะภูมิประเทศ • พื้นที่ราบลุ่มด้านตะวันตก และใต้ • เนินเขาเตี้ยๆ สลับที่ราบ ทางตอนกลางและเหนือ • ภูเขาสลับซับซ้อนด้าน ตะวันตก แม่น้ำปิง พิจิตร ตาก นครสวรรค์

  3. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชรข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชร ระยะทางจากจังหวัดถึงอำเภอ ลานกระบือ 35 25 55 โกสัมพีนคร พรานกระต่าย ไทรงาม • การแบ่งเขตปกครอง • 11 อำเภอ • 78 ตำบล • 956 หมู่บ้าน • 27 ชุมชนเมือง • 21 เทศบาล • 68 องค์การบริหารส่วนตำบล 46 เมือง ทรายทองวัฒนา 51 จำนวนบ้าน 242,029 หลังประชากร 715,743 คนเฉลี่ยต่อหลัง 3 คนความหนาแน่น 84 คนต่อ ตร.กม. 42 คลองลาน บึงสามัคคี คลองขลุง 50 85 78 70 ปางศิลาทอง ขาณุวรลักษบุรี

  4. โครงสร้างประชากร ปี 2544 ปี 2555 หญิง ชาย ชาย หญิง ประชากร หญิง 365,103 คน | ชาย 360,906 คน หญิง 362,445 คน | ชาย 353,298 คน สัดส่วน วัยเด็ก 18.05 % วัยแรงงาน 64.49% วัยเด็ก 19.73% วัยแรงงาน 68.46% สูงอายุ 17.45 % วัยพึ่งพิง 35.50% สูงอายุ 11.81% วัยพึ่งพิง 31.54%

  5. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชรข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชร อาชีพ เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาปีละ 2 ครั้ง, ไร่อ้อย มันสำปะหลัง, ข้าวโพด, เลี้ยงสัตว์ ศาสนา ส่วนใหญ่นับถือพุทธ มีวัด 497 แห่ง วัดมหานิกาย 475 แห่ง, ธรรมยุติ 22 แห่งสำนักสงฆ์ 250 แห่ง การศึกษา สถานศึกษาภาครัฐ (455 รร./6 วิทยาลัย), เอกชน 37 แห่ง , ศูนย์เด็กเล็ก 213 แห่ง ชนเผ่า มูเซอ, เย้า, กะเหรี่ยง, ม้ง, ลีซอ และ ลัวะ

  6. ข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชรข้อมูลทั่วไปจังหวัดกำแพงเพชร โรงงาน โรงงานอุตสาหกรรม 624 แห่ง แบ่งเป็น - โรงสีข้าว 46 แห่ง - รง.ขนาดเล็ก 448 แห่ง - รง.ขนาดกลาง 103 แห่ง- รง.ขนาดใหญ่ 27 แห่ง ตลาด ตลาดสด 18 แห่ง, ตลาดนัด 117 แห่ง สถานที่จำหน่ายอาหาร 1,056 แห่ง ร้านจำหน่ายสุรา 4,195 แห่ง

  7. ผู้สูงอายุ กราฟแสดงจำนวนผู้สูงอายุปี 2555 จำแนกรายอำเภอ รวม 124,928 คน

  8. สัดส่วนผู้พิการตามประเภทความพิการสัดส่วนผู้พิการตามประเภทความพิการ ผู้พิการจดทะเบียน (ทส24)21,135 คน กราฟแสดงจำนวนผู้พิการ จำแนกตามประเภทความพิการ ปี 2555

  9. สิทธิการรักษาพยาบาล ประชากร ณ 30 ธ.ค.55 จำนวน 707,703 คน รวมทุกสิทธิ 99.65% , ว่างสิทธิ 2,509 คน (0.35%)

  10. สถานะสุขภาพประชาชน อัตราเกิด อัตราตาย อัตราเพิ่ม

  11. สถานะสุขภาพประชาชน อายุคาดเฉลี่ย

  12. อัตราป่วยของผู้ป่วยนอกตามรหัส ICD10 อัตราต่อพันประชากร

  13. อัตราป่วยของผู้ป่วยในตามรหัส ICD10 อัตราต่อแสนประชากร

  14. 10 อันดับโรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา อัตราต่อแสนประชากร สัดส่วนผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงแยกตามอายุ ปี 56 สัดส่วนผู้ป่วยโรคปอดบวมแยกตามอายุ ปี 56 สัดส่วนผู้ป่วยโรคตาแดง แยกตามกลุ่มอายุ ปี 56 สัดส่วนผู้ป่วยใข้หวัดใหญ่ แยกตามกลุ่มอายุ ปี 56 สัดส่วนผู้ป่วยมือเท้าปากแยกตามกลุ่มอายุ ปี 56 สัดส่วนผู้ป่วยไข้เลือดออกแยกตามกลุ่มอายุ ปี 56 สูงสุดที่ อ.ทรายทองวัฒนา,เมือง,บึงสามัคคี,ขาณุฯ ไทรงาม สูงสุดที่ อ.บึงสามัคคี,ทรายทองวัฒนา,โกสัมพีนคร สูงสุดที่ อ.มือง,พรานกระต่าย,คลองขลุง,ขาณุฯ สูงสุดที่ อ.เมือง,ไทรงาม,โกสัมพีนคร สูงสุดที่ อ.ไทรงาม,ทรายทองวัฒนา,คลองขลุงพบตาย 8 ราย ที่ อ.ขาณุฯ(4),เมือง(2),คลองขลุง(1),ปางศิลาทอง(1) อำเภอที่มีอัตราป่วยสูง 3 อันดับแรก - ทรายทองวัฒนา,คลองขลุง,โกสัมพีนคร

  15. สาเหตุการตายจากมรณบัตร 10 อันดับแรก อัตราต่อแสนประชากร

  16. สาเหตุการตายในโรงพยาบาล 10 อันดับแรก อัตราต่อแสนประชากร

  17. ข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุขข้อมูลทรัพยากรสาธารณสุข โรงพยาบาลทั่วไป (410 เตียง) 1 แห่ง สถานบริการสาธารณสุขนอกสังกัด/เอกชน โรงพยาบาล 60 เตียง 4 แห่ง รพ.สต.สังกัด อปท. 4 แห่ง ศูนย์บริการฯเทศบาล 4 แห่ง โรงพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คลินิกแพทย์ 64 แห่ง คลินิกทันตแพทย์17 แห่ง สถานพยาบาล 128 แห่ง ร้านขายยาปัจจุบัน 130 แห่ง ร้านขายยาแผนโบราณ 52 แห่ง โรงพยาบาล 30 เตียง 5 แห่ง โรงพยาบาล 10 เตียง 1 แห่ง รอเปิดดำเนินการ(10เตียง) 1 แห่ง (รพ.โกสัมพีนคร ยังมีปัญหาเรื่องน้ำใช้) รพ.สต.ในสังกัด 122 แห่ง • รพ.สต. เดี่ยว 20 แห่ง • รพ.สต. เครือข่าย 42 เครือข่าย • ถ่ายโอน ปี 2552 2 แห่ง • ปี 2555 2 แห่ง

  18. แพทย์ บุคลากรสาธารณสุขต่อประชากร ทันตแพทย์ เภสัชกร • ประเทศ 1 : 4,921 • เขต 3 1 : 4,464 • กำแพงเพชร 1 : 7,230 • ประเทศ 1 : 11,249 • เขต 3 1 : 9,819 • กำแพงเพชร 1 : 12,340 • ประเทศ 1 : 15,842 • เขต 3 1 : 13,974 • กำแพงเพชร 1 : 18,835 พยาบาลวิชาชีพ • ประเทศ 1 : 1,012 • เขต 3 1 : 811 • กำแพงเพชร 1 : 811 บุคลากรแพทย์แผนไทย 77 คน - รพท.10 คน, รพช. 21 คน - รพสต. 66 คน ระดับ รพสต. มีพยาบาลเวชปฏิบัติครอบคลุมทุกแห่ง

  19. วิสัยทัศน์ ประชาชนกำแพงเพชร มีสุขภาพดี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนภายใต้การพัฒนาระบบสุขภาพอย่างมีมาตรฐาน ค่านิยม สุจริตโปร่งใส มีใจให้บริการ บูรณาการทำงานเป็นทีม มุ่งสู่ผลสัมฤทธิ์

  20. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุข

  21. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุขยุทธศาสตร์การพัฒนาสาธารณสุข กำหนดแผนงาน/โครงการตามยุทธศาสตร์ปัญหาของจังหวัดและนโยบาย งบ PP สำหรับพื้นที่ 33 โครงการสนับสนุนการจัดบริการ 33 โครงการงบ สป.27 โครงการ

  22. การดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล ดำเนินการแล้ว 89 กองทุน (100%) ปี 2554 มีโครงการสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 898 โครงการ ร้อยละ 79.46 (จาก 1,130 โครงการ) ปี 2555 มีโครงการสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค1032 โครงการ ร้อยละ 81.26 ปี 2556 งบดำเนินงาน ประมาณ 40 ล้านบาท (สปสช.25,775,260 บ. / อบต.สมทบ 14,508,390 บ.)

  23. คณะที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรค

  24. Intervention Information Process นโยบายกรม,กอง ข้อมูลสุขภาพ การบริหารจัดการของ จว. Analysis วิเคราะห์สภาพปัญหา กรมอนามัย - รพ.สายใยรัก - ดูแลผู้สูงอายุ(LTC) -ชมรม - นโยบาย 3อ,2ส -คลินิกDPAC / ANC / WCC - ห้องคลอดคุณภาพกรมสุขภาพจิต – ดูแลผู้ป่วย,เฝ้าระวังกรม คร– อำเภอเข้มแข็ง,SRRT/ NCD คุณภาพกองทันตฯ – ดูแลโรคช่องปากเชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมาย - มีกองทุนดำเนินการกรมแพทย์ – มะเร็งเต้านม/ปากมดลูกคบส – กฎหมาย/มาตรการบังคับใช้ - เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพบูรณาการ-สร้างภาคีเครือข่ายโดยSRM/ DHS/ตำบลจัดการสุขภาพ - บริหารจัดการระบบปฐมภูมิ เขตเมืองและชนบท - ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย - แก้ไขปัญหายาเสพติด - ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น - พัฒนาสติปัญญาเด็กปฐมวัย - นโยบาย Service Plan/พบส. 1.ในรูปคณะกรรมการ : NCD Board / MCH Board / คปสจ. UC Board / CUP Management2.จัดทำแผนงานโครงการบูรณาการชัดเจน ตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพจังหวัด3.มีงบประมาณ PP+กองทุนตำบลสนับสนุน4.ใช้ SRM ขับเคลื่อน5.สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย/ DHS/ตำบลจัดการสุขภาพ 6.พัฒนาศักยภาพสถานบริการ/บุคลากร ให้มีคุณภาพในการบริการ7.สนับสนุนการใช้แพทย์แผนไทย-ทางเลือก8.พัฒนาระบบ Data center เชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการ 9.พัฒนาระบบ Referal System10.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่นวตกรรม/เชิดชูบุคคลต้นแบบ11.การขับเคลื่อน Service Plan/พบส. กลุ่มแม่และเด็ก • ฝากครรภ์คุณภาพ 5 ครั้ง 49.2% (>90%)- ฝากครรภ์ < 12 สัปดาห์ 47% (60%)- ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ 25.4%(ไม่เกิน10%) • LBW 9.3% (ไม่เกิน 7%) • TSH ทารกแรกเกิด 7.6%(ไม่เกิน 3%) กลุ่มปฐมวัย • ศูนย์เด็กเล็กผ่านเกณฑ์ 66% - ฟันน้ำนมผุ 62.4% (ไม่เกิน 57%)- อัตราป่วยโรคอุจาระร่วง 1,691 ต่อแสน ปชก. กลุ่มวัยรุ่น วัยเรียน • ตั้งครรภ์ < 20 ปี 62.9 : พัน (ไม่เกิน 50 : พัน)- อัตราป่วยกามโรคเพิ่มขึ้น 41.3- ฟันถาวรผุ 52.3% • พัฒนาการด้าน IQ ต่ำเพียง 95 กลุ่มวัยทำงาน • อัตราป่วยด้วยโรคเรื้อรัง- อัตราตายด้วยโรคเรื้อรัง- ภาวะแทรกซ้อน DM • ภาวะแทรกซ้อน HT

  25. Intervention Information Process นโยบายกรม,กอง ข้อมูลสุขภาพ การบริหารจัดการของ จว. Analysis วิเคราะห์สภาพปัญหา กรมอนามัย - รพ.สายใยรัก - ดูแลผู้สูงอายุ(LTC) -ชมรม - นโยบาย 3อ,2ส -คลินิกDPAC / ANC / WCC - ห้องคลอดคุณภาพกรมสุขภาพจิต – ดูแลผู้ป่วย,เฝ้าระวังกรม คร– อำเภอเข้มแข็ง,SRRT/ NCD คุณภาพกองทันตฯ – ดูแลโรคช่องปากเชิงรุก ในกลุ่มเป้าหมาย - มีกองทุนดำเนินการกรมแพทย์ – มะเร็งเต้านม/ปากมดลูกคบส – กฎหมาย/มาตรการบังคับใช้ - เฝ้าระวังผลิตภัณฑ์สุขภาพบูรณาการ-สร้างภาคีเครือข่ายโดยSRM/ DHS/ตำบลจัดการสุขภาพ - บริหารจัดการระบบปฐมภูมิ เขตเมืองและชนบท - ยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีไทย - แก้ไขปัญหายาเสพติด - ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น - พัฒนาสติปัญญาเด็กปฐมวัย - นโยบาย Service Plan/พบส. 1.ในรูปคณะกรรมการ : NCD Board / MCH Board / คปสจ. UC Board / CUP Management2.จัดทำแผนงานโครงการบูรณาการชัดเจน ตามแผนยุทธศาสตร์พัฒนาสุขภาพจังหวัด3.มีงบประมาณ PP+กองทุนตำบลสนับสนุน4.ใช้ SRM ขับเคลื่อน5.สร้างกระบวนการมีส่วนร่วมภาคีเครือข่าย/ DHS/ตำบลจัดการสุขภาพ 6.พัฒนาศักยภาพสถานบริการ/บุคลากร ให้มีคุณภาพในการบริการ7.สนับสนุนการใช้แพทย์แผนไทย-ทางเลือก8.พัฒนาระบบ Data center เชื่อมโยงข้อมูลการให้บริการ 9.พัฒนาระบบ Referal System10.จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เผยแพร่นวตกรรม/เชิดชูบุคคลต้นแบบ11.การขับเคลื่อน Service Plan/พบส. กลุ่มวัยทำงาน (ต่อ) • อัตราป่วย CA Cervix- อัตราป่วย CA Breast • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม • รอบเอวเกินเกณฑ์ • อ้ตราป่วยโรคพิษจากสารกำจัดศัตรูพืช 9.22 ต่อแสน กลุ่มสูงอายุ พิการ • ฟันคู่สบฟันหลังไม่น้อยกว่า 4 คู่ 41.5%- อัตราป่วย/ตายด้วยโรคเรื้อรัง • ภาวะแทรกซ้อน DM-HT • LTC ผู้สูงอายุ ทุกกลุ่มวัย • - อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกสูงกว่า Median • TB Success Rate 88% • การเข้าถึงบริการของผู้ป่วยโรคซึมเศร้า 20.5% • อัตราพยายามฆ่าตัวตาย 34.4% • อัตราตายจากอุบัติเหตุจาราจร 33.2 %

  26. กลุ่มเด็กและสตรี สภาพปัญหา

  27. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครั้งแรกก่อน 12 สัปดาห์รายโรงพยาบาล ปี 2555-2556 เป้าหมาย 60%

  28. ร้อยละหญิงคลอดบุตรมีภาวะโลหิตจาง รายโรงพยาบาล ปี 2555-2556 เป้าหมายไม่เกิน 10%

  29. ร้อยละเด็กเกิดมีชีพ นน.< 2500 กรัม รายโรงพยาบาล ปี 2555-2556 เป้าหมายไม่เกิน 7%

  30. ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน รายอำเภอ ปี 2555-2556 เป้าหมาย 100%

  31. กระบวนการแก้ไขปัญหา • MCH Board 4 ครั้ง/ปี เพื่อชี้แจงแนวทาง ANC คุณภาพ LR คุณภาพ นำเสนอปัญหา หาแนวทางแก้ไข • สื่อสารและประชาสัมพันธ์ • พัฒนาบริการ ที่ระดับ รพ.และรพ.สต. โดย ฟื้นฟูความรู้ของบุคลากรในหน่วยบริการตามแนวทาง • ติดตามประเมินการดำเนินงาน ANC คุณภาพ LR คุณภาพ • สำรวจข้อมูลหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง • ติดตามการเสริมสารไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์

  32. จำนวนและร้อยละเด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจ TSHและมีค่าภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีน เป้าหมายไม่เกิน 3 % ที่มา :สำเนาขอให้ส่งตัวอย่างมาตรวจยืนยัน และสำเนารายงานผลการตรวจยืนยัน

  33. ร้อยละเด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจ TSH และมีค่าภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีน เปรียบเทียบข้อมูลรายอำเภอ ที่มา:สรุปผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีนรายสถานพยาบาล จังหวัดกำแพงเพชร

  34. แนวทางการการแก้ไขปัญหา จังหวัดกำแพงเพชร พบเด็กแรกเกิดอายุ 2 วันขึ้นไปที่ได้รับการเจาะเลือดมีปริมาณ TSH มากกว่า 11.2มิลลิยูนิตต่อลิตร เกินเป้าหมายที่กำหนดว่าจะต้องน้อยกว่าร้อยละ 3 ( ตามเกณฑ์ WHO ) จึงมีแนวทางให้สถานบริการให้ความรู้เกี่ยวกับการขาดสารไอโอดีนกับกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ที่สถานบริการสาธารณสุข แจกเกลือเสริมไอโอดีน และ ยาเสริมไอโอดีน ให้กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ทุกรายและติดตามดูแลการรับประทานยา แผนการแก้ไขปัญหาระดับจังหวัด ปีงบประมาณ 2556 • การป้องกันภาวะปัญญาอ่อนจากภาวะพร่องไทรอยด์และPhenylketonuria การตรวจยืนยัน TSH เด็กแรกเกิดและการติดตามรายที่ผลผิดปกติ • พัฒนาคุณภาพคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ และพัฒนาเครือข่ายบริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพ เพื่อพัฒนาสติปัญญาเด็กแรกเกิดถึง 5 ปี • นิเทศติดตามและคัดเลือกสถานบริการคลินิกสุขภาพเด็กดีคุณภาพดีเด่นระดับจังหวัด • กำกับติดตามผลการดำเนินงานให้เป็นไปตามเป้าหมาย และรายงานผลการดำเนินงาน

  35. กลุ่มเด็กปฐมวัย ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีคุณภาพในระดับดีและดีมาก 70% ขึ้นไป

  36. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขการดำเนินงานทันตสาธารณสุข ร้อยละของเด็กอายุ 3 ปี ปราศจากฟันผุในฟันน้ำนมปี 2553-2555

  37. กองทุนทันตสาธารณสุข • ระดับจังหวัด 3 โครงการ (งบประมาณ 1,103,567 บาท) 1) กระตุ้นการจัดบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกันในหน่วยบริการหลักและ เครือข่ายกลุ่มแม่และเด็กแรกเกิดถึงอายุ 18 ปี จังหวัด 2) การจัดบริการเชิงรุก และกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน 3) โครงการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชุมชนจังหวัดกำแพงเพชร • ระดับอำเภอ โดย CUP 11 แห่ง 62 โครงการ (งบ 9,033,855 บาท) • ดำเนินงานส่งเสริม ป้องกัน ควบคุมและฟื้นฟูใน ทุกกลุ่ม ได้แก่ หญิงตั้งครรภ์ และกลุ่มเด็กปฐมวัย ฝึกทักษะพ่อแม่กลุ่มวัยรุ่นและวัยเรียน กลุ่มวัยทำงาน กลุ่มผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ

  38. กลุ่มวัยรุ่น-วัยเรียน ร้อยละแม่คลอดบุตรอายุน้อยกว่า 20 ปี รายโรงพยาบาล เปรียบเทียบข้อมูล ปี 2555-2556 (ต.ค.- ม.ค.56)

  39. อัตรามารดาอายุ 15-19 ปี ต่อพันประชากร จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2555 รายอำเภอ (ไม่เกิน 50 ต่อพันประชากร)

  40. กระบวนการแก้ไขปัญหา • สนับสนุนงบประมาณระดับอำเภอให้มีขบวนการขับเคลื่อน ตามบริบทของแต่ละพื้นที่ในการแก้ไขปัญหา • กระบวนการพัฒนาระบบบริการอนามัยเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศที่มีคุณภาพ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์และเผยแพร่เเนวทางการดำเนินงานระหว่างหน่วยงาน

  41. การดำเนินงานทันตสาธารณสุขในนักเรียนการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในนักเรียน ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากฟันผุในฟันถาวร ปี 2553-2555(ไม่เกิน 45 %)

  42. อัตราการใช้ถุงยางอนามัยนักเรียนมัธยมศึกษา กลุ่มเยาวชน สถานการณ์ผู้ป่วยกามโรค ที่พบในทุกกลุ่มวัย / กลุ่มวัยรุ่น

  43. กลุ่มเด็กวัยรุ่น/วัยเรียนกลุ่มเด็กวัยรุ่น/วัยเรียน ร้อยละของเด็กวัยเรียน(6-12ปี) มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน (ไม่น้อยกว่า 70%) สถานการณ์ ปีการศึกษา 2554 เด็กวัยเรียน (6-12 ปี) - มีส่วนสูงระดับดี ร้อยละ 92.55 - มีรูปร่างสมส่วน รอยละ 88.25 โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ทุกโรงเรียนผ่านการประเมินมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (รวมทุกระดับ) จำแนกระดับได้ ดังนี้ - ระดับเพชร จำนวน 7แห่ง ร้อยละ 1.53 - ระดับทอง จำนวน 319แห่ง ร้อยละ 70.10 - ระดับเงิน จำนวน 86แห่ง ร้อยละ 18.90 - ระดับทองแดง จำนวน 43แห่ง ร้อยละ 9.45

  44. กลุ่มวัยทำงาน อัตราของการเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาลด้วยโรคเรื้อรัง จังหวัดกำแพงเพชร ปีงบประมาณ 2553– 2555

  45. อัตราตายด้วยโรคเรื้อรังต่อแสนประชากร จังหวัดกำแพงเพชร ปี 2553 – 2555

  46. การคัดกรองและแบ่งกลุ่มตามระดับความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป (ปี 2555) เป้าหมาย : ร้อยละ 90 ร้อยละ กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ความดันสูงปี 2554 ป่วยเป็นโรคในปี 2555 เป้าหมาย <ร้อยละ 10 93.22% 94.85% เป้าหมาย <ร้อยละ 5 ร้อยละ 4.45 ร้อยละ 1.25 สูงสุด อ.ขาณุวรลักษบุรี97.60 % สูงสุด อ.ขาณุวรลักษบุรี 97.37%

  47. การคัดกรองและแบ่งกลุ่มตามระดับความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี 2556(ต.ค.-ธ.ค.55) เป้าหมาย : ร้อยละ 90 กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูงปี 2555 ร้อยละ ป่วยเป็นโรคในปี 2556 เป้าหมาย <ร้อยละ 10 เป้าหมาย <ร้อยละ 5 15.64% 16.38% ร้อยละ 0.77 ร้อยละ 0.00 สูงสุด อ.โกสัมพีนคร28.98 % สูงสุด อ.ทรายทองวัฒนา 27.39%

  48. การคัดกรองและแบ่งกลุ่มตามระดับความเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป (ปี 2556) เป้าหมาย : ร้อยละ 90 ร้อยละ กลุ่มเสี่ยงสูงโรคเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูงปี 2555 ป่วยเป็นโรคในปี 2556 เป้าหมาย <ร้อยละ 10 เป้าหมาย <ร้อยละ 5 21.08% 19.50% ร้อยละ 1.92 ร้อยละ 0.00 สูงสุด อ.โกสัมพีนคร40.48 % สูงสุด อ.โกสัมพีนคร53.76%

  49. การได้รับการเสริมทักษะปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2สและลดเสี่ยงในกลุ่มเสี่ยง 88.11% 72.68 % 89.28 % 76.58 % กลุ่มเสี่ยงเบาหวาน กลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง

  50. กลุ่มป่วย การควบคุมระดับน้ำตาลและระดับความดันโลหิต คลินิก NCD คุณภาพ ร้อยละ 90.90 (รพ.ทรายทองวัฒนา ไม่ผ่าน ข้อ 5.2 และ 5.3)

More Related