1 / 21

โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป.

Download Presentation

โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการรณรงค์ให้วัคซีน dT แก่ประชากรกลุ่มอายุ 20 - 50 ปี ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายแพทย์รุ่งเรือง กิจผาติ ผู้อำนวยการสำนักโรคติดต่อทั่วไป

  2. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี 2520-2557 ไอกรน บาดทะยักในเด็กแรกเกิด หัด อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) คอตีบ 2556 โปลิโอ 2556 อัตราป่วยต่อเด็กเกิดมีชีพแสนคน ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  3. อัตราความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็กอายุ 1 ปี และโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน ประเทศไทย: ปี 2520-2557 ไข้สมองอักเสบ Start JE vaccine in 1991 (17 provinces) อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน (%) หัดเยอรมัน • ปัญหาที่ต้องรีบแก้ไข • วัคซีนครอบคลุมไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะประชาชน • ในถิ่นทุรกันดาร ชุมชนแออัดและชายแดนใต้ • เสี่ยงที่โรคจะระบาด • โรคคอตีบเริ่มกลับมาระบาด • โรคหัดยังระบาดเป็นระยะ • ส่วนใหญ่พบในเด็กเล็ก 0-7 ปี (44%) 2556 คางทูม ที่มา: กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน, สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

  4. อัตราป่วยโรคคอตีบและความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนคอตีบครบ 3 ครั้ง ในเด็กอายุครบ 1 ปี : ประเทศไทย พ.ศ. 2520-2557 ร้อยละ อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน อัตราป่วย ความครอบคลุม แหล่งที่มา : สำนักระบาดวิทยาและสำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

  5. จำนวนและร้อยละของผู้ป่วยยืนยันและเข้าข่ายโรคคอตีบในพื้นที่ที่มีการระบาด จำแนกตามกลุ่มอายุ ปี 2555 ที่มา : สำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค

  6. ผู้ป่วยยืนยันโรคคอตีบปี 2556

  7. ความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทยความเสี่ยงในการระบาดของโรคคอตีบในประเทศไทย Herd immunity ของ Diphtheria = 85% • ผู้ป่วยโรคคอตีบชาวลาวข้ามฝั่งมารักษาที่ประเทศไทยหลายราย เช่นที่เชียงของ (จังหวัดเชียงราย) ท่าลี่ (จังหวัดเลย) • การระบาดในลาวยังมีอยู่ต่อเนื่อง • สปป.ลาว สหภาพพม่า ขอรับการสนับสนุน DAT จากไทย • ช่องว่างภูมิต้านทานโรค • กลุ่มผู้ใหญ่ที่เกิดก่อนหรือ เกิดในช่วงต้นของ EPI • เด็กที่ไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ • พื้นที่ต่างๆที่เสี่ยง

  8. มาตรการตามระดับพื้นที่มาตรการตามระดับพื้นที่ พื้นที่เสี่ยง พื้นที่อื่นๆ

  9. มาตรการดำเนินการในพื้นที่มาตรการดำเนินการในพื้นที่ 1.พื้นที่ระบาด: War room, Early Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination ทุกคน,Active surveillance 2.พื้นที่สงสัย: War room, Diagnosis & treatment Contact case management, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปีและกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 3.พื้นที่เสี่ยง: War room, Diagnosis&treatment, Mop-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 15 ปีและกลุ่มเสี่ยง เช่น ชาวเขา ต่างด้าว 4.พื้นที่อื่นๆ: ติดตามสถานการณ์ใกล้ชิด, Diagnosis & treatment, Catch-Up vaccination เด็กต่ำกว่า 12 ปี

  10. สภาวะระดับภูมิคุ้มกันสภาวะระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคคอตีบในประชากรกลุ่มอายุต่าง ๆ

  11. ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบในประชากร อำเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น ปี 2554 ร้อยละ 1-10 11-20 21-30 31-40 41-50 51-60 61-70 71-80 รวม กลุ่มอายุ (ปี)

  12. Chiang Mai Phitsanulok Ratchaburi Chonburi Nakhon Si Thammarat Songkhla

  13. ร้อยละของระดับภูมิคุ้มกันต่อโรคคอตีบในกลุ่มอายุ 20 - 60 ปี ประเทศไทย ปี 2556 Seroconversion IU/mL

  14. ผลการประชุม คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เมื่อ 28 มกราคม 2556 มีมติ...... กำหนดให้รณรงค์ใช้วัคซีน dT จำนวน 1 ครั้ง ผู้ใหญ่กลุ่มอายุ 20-50 ปี การรณรงค์ฯ ให้เน้นในพื้นที่ที่เสี่ยง ต่อการเกิดโรคคอตีบก่อน

  15. แจ้งเตือนสสจ. ทั่วประเทศเร่งรัดตรวจสอบประวัติการได้รับวัคซีนคอตีบแก่เด็กก่อนวัยเรียนและนักเรียน รวมทั้งติดตาม เด็กที่ยังไม่ได้รับวัคซีนหรือได้รับไม่ครบ ให้ได้รับวัคซีนครบถ้วนตามเกณฑ์ 2. กำหนดให้วัคซีน dT ทดแทน T ในทุกกรณี เช่น หญิงมีครรภ์ กลุ่มผู้มีบาดแผล หน่วยบริการทุกแห่งทั้งภาครัฐและเอกชน ราชวิทยาลัยและสมาคมแพทย์ที่เกี่ยวข้อง ประกันสังคม บริษัทนำเข้าวัคซีน เพื่อปรับแผนการจัดจำหน่ายวัคซีน ในอนาคต มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค

  16. 3. รณรงค์ให้ dT แก่ผู้ใหญ่อายุ 20-50 ปี 1 ครั้ง เพื่อเร่งให้ภูมิคุ้มกันโรคในชุมชนมีระดับสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว 4. บรรจุการให้ dT กระตุ้นแก่ผู้ใหญ่ทุก 10 ปี ไว้ในตาราง EPI เพื่อกระตุ้นให้ภูมิคุ้มกันคงอยู่ในระดับที่ป้องกันโรคได้อย่างต่อเนื่อง มาตรการด้านการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (ต่อ)

  17. โครงการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ในโอกาสเจริญพระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา เพื่อคุ้มครองคนไทยจากโรคร้ายด้วยวัคซีน เป้าหมายของโครงการ 1.ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน dT ในประชากรอายุ 20-50 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2. ความครอบคลุมการได้รับวัคซีน MR ในประชากรเด็กอายุ 2.5 – 7 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95

  18. พ.ค. – ก.ย. 58 มี.ค – เม.ย. 57 ต.ค. – พ.ย. 57 มี.ค. –เม.ย 58 โครงการนำร่องรณรงค์ dT จ.มุกดาหาร (1.6 แสนโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dT ภาคอีสาน 19 จังหวัด (~10 ล้านโด๊ส) ขยายการรณรงค์ dTภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ รวม 57จังหวัด (~ 18 ล้านโด๊ส) ให้วัคซีน MR 2 .5 - 7 ปี ทั่วประเทศ

  19. กิจกรรมและงบประมาณของสำนักโรคติดต่อทั่วไป/สคร./สสจ.กิจกรรมและงบประมาณของสำนักโรคติดต่อทั่วไป/สคร./สสจ.

  20. การป้องกัน... แม้เพียงน้อยนิด ย่อมมีคุณค่า... กว่าการทุ่มเทอย่างมากมาย ในการดูแลรักษา... ขอบคุณ

More Related