1 / 23

การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ

การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ. ปัทมา เธียรวิศิษฎ์สกุล สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 29 กันยายน 2548 www.nesdb.go.th. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และการคาดการณ์เศรษฐกิจ แบบจำลอง เครื่องมือ และเทคนิคการประมาณการเศรษฐกิจ

kaia
Download Presentation

การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจการคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ ปัทมา เธียรวิศิษฎ์สกุล สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 29 กันยายน 2548 www.nesdb.go.th

  2. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และการคาดการณ์เศรษฐกิจ แบบจำลอง เครื่องมือ และเทคนิคการประมาณการเศรษฐกิจ รูปแบบการประมาณการเศรษฐกิจ และการเผยแพร่ต่อสาธารณชน ของ สศช. ปัจจัย/เงื่อนไขทางเศรษฐกิจ และคาดการณ์สถานการณ์เศรษฐกิจปี 2548 แนวโน้มและปัจจัยทางเศรษฐกิจในระยะปานกลาง ประเด็นการอภิปราย

  3. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ วางแผนและกำหนดกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม กรอบแนวทางการพัฒนาของประเทศในระยะปานกลางและยาว Macroeconomic framework (แนวโน้มและเป้าหมายMacro. with stability) การคาดการณ์แนวโน้มเศรษฐกิจระยะปานกลาง (เพื่อสนับสนุนงานวางแผนการพัฒนา) กรอบการใช้จ่ายในระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework: MTEF) ศักยภาพการผลิต (Potential growth)

  4. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ • คาดการณ์การขยายตัวทางเศรษฐกิจด้านอุปสงค์ • ดุลบัญชีเดินสะพัด • อัตราเงินเฟ้อ • สนับสนุนการเสนอแนะเชิงนโยบาย • บริการสาธารณชน (นักวิชาการ ภาคธุรกิจเอกชน และ • Fund Managers/Securities houses รวมทั้ง Credit • rating agencies) การประมาณการหรือคาดการณ์เศรษฐกิจล่วงหน้า 1 ปี • ปรับประมาณการทุก 3 เดือน (ปรับสมมุติฐาน และ • ฐานข้อมูล) • แถลงข่าวพร้อมกับการประกาศตัวเลข GDP ไตรมาส • ล่าสุด (ซึ่ง lag ประมาณ 2 เดือนกับ 1 สัปดาห์) • สาธารณชน download รายงานและข้อมูลได้จาก • www.nesdb.go.th ตารางปี 2548: 7 มีค. 6 มิย. 5 ก.ย. และ 6 ธ.ค. • ช่วงของตัวเลขการประมาณการเป็น 1% ในการแถลง • ข่าวในเดือน มี.ค. และ มิ.ย. • ช่วงแคบลงเป็น 0.5% ในเดือน ก.ย. • point estimate หรือเลขตัวเดียวในเดือนธันวาคมพร้อ • กับการคาดการณ์เศรษฐกิจปีถัดไป

  5. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ รายงานภาวะเศรษฐกิจรายไตรมาส การวิเคราะห์ และรายงานสถานการณ์ และประเด็นทางเศรษฐกิจ การวิเคราะห์ประเด็นทางเศรษฐกิจ อาทิ ผลกระทบราคาน้ำมัน การทำ Policy simulation เพื่อศึกษาผลกระทบนโยบายรัฐบาล

  6. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ ทบทวนสถานการณ์ที่ผ่านมา ทั้งสถานการณ์/ปัจจัย ภายในและภายนอก ตั้งสมมุติฐาน ทำการประมาณการ คณะกรรมการ Macro สศช.

  7. NESDB’sQFM Adjust Annual forecast (CGE + Fin. Programming) End comparison Input & assum. Reconcile with QFM’sforecast: PJ ผลการประมาณการ CQM OR Projected NIPA data (National income and product account data) estimate High frequency data (Daily, Weekly, and Monthly)with projected period ARMA and ARIMA techniques “bridge” equations NIPA data (National income and product Account data) High frequency data (Daily, Weekly , and Monthly) Econometric and Time series techniques High frequency data Collection and identification Beginning

  8. สภาพัฒน์กับการติดตาม วิเคราะห์ และคาดการณ์ภาวะเศรษฐกิจ • การคาดการณ์: ทิศทางและขนาด • องค์ประกอบของการขยายตัวและ • เรื่องราว เหตุและผลสำคัญมากกว่า • ตัวเลข growth เพียงตัวเดียว • บุคคลากร (Forecasting team) • - ทักษะในการวิเคราะห์ (Technical skills) • - ความเข้าใจโครงสร้าง และสถานการณ์เศรษฐกิจ • ฐานข้อมูลในการจัดทำแบบจำลอง และประกอบการตั้งข้อสมมุติฐาน Key success factors ของการคาดการณ์

  9. ใน Q2 เศรษฐกิจปรับตัวดีขึ้นกว่าใน Q1 แต่โดยรวม H1 ยังชะลอตัว • ราคาน้ำมัน • ภาวะภัยแล้ง • Tsunami • อื่น ๆ การขยายตัวทางเศรษฐกิจ • Q1 GDP = 3.3 % • Q2 GDP = 4.4% (Q2/Q1 GDP ปรับฤดูกาล =1.9%) • H1 GDP = 3.9% (H1/47: 6.6%, H2/47: 5.7%) เสถียรภาพ • อัตราเงินเฟ้อ • ดุลการค้า (ม.ค.- ส.ค.48) -8.2$Bil. • ดุลบัญชีเดินสะพัด -5.7$Bil. • ความไม่สงบในภาคใต้ • ราคาวัสดุก่อสร้าง • GSP และ AD สินค้ากุ้ง

  10. ผลกระทบและความเสียหายต่อเศรษฐกิจผลกระทบและความเสียหายต่อเศรษฐกิจ • ราคาน้ำมัน • ภาวะภัยแล้ง • Tsunami • อื่น ๆ • Q1 GDP (-0.40%) Inflation↑ (+0.37%) • Q2 GDP (-0.44%) Inflation↑ (+0.40%) ราคาน้ำมันดิบดูไบ Q1/2528= 41.21 US$/Barrel เพิ่มขึ้น 40.6% Q2/2548 = 47.9 US$/Barrel เพิ่มขึ้น 44.5% Q1/2548 เสียหาย = - 8,800 ล้านบาท = - 0.5% ของ GDP Q2/2548 เสียหาย = - 2.300 ล้านบาท = - 0.13% ของ GDP ประมาณการทั้งปี =17,950.6 ล้านบาท ( ข้าวนาปี = -1,722.5 ล้านบาท ข้าวนาปรัง = -1,983.3 ล้านบาท มันสำปะหลัง = -1.05 ล้านบาท อ้อยโรงงาน = -5,094.5 ล้านบาท ) ผลกระทบ รายได้การท่องเที่ยวใน ปี2548 Q1/2548 = -10,520 ล้านบาท หรือ -0.6% ของ GDP Q2/2548 = -6,700 ล้านบาท หรือ -0.4% ของ GDP ประมาณการทั้งปี = 41,000 ล้านบาท • ความไม่สงบในภาคใต้ • ราคาวัสดุก่อสร้าง • GSP และ AD สินค้ากุ้ง

  11. ด้านการใช้จ่าย: การใช้จ่ายและการลงทุนยังมี momentum การส่งออกดีขึ้น แต่การนำเข้าเพิ่มเร็วกว่า อัตราเพิ่มของการใช้จ่าย (%)

  12. อุปสงค์ภายในประเทศยังขยายตัวดี ( BOT จึง up R/P rate เมื่อ inflation สูงขึ้น) แต่ขาดดุลการค้ามากขึ้น (จากปริมาณที่แตกต่างเป็นสำคัญ) ประเด็นเศรษฐกิจ H1/2548 • การสะสมสะต็อคอยู่ในระดับสูง ที่มา สศช. 12 12

  13. การส่งออกสินค้าแยกตาม Local content 13 ที่มา : กระทรวงพาณิชย์

  14. แนวโน้มเศรษฐกิจปี 2548 • เงื่อนไขและปัจจัยทางเศรษฐกิจ • สมมติฐานการประมาณการ • แนวโน้มและเป้าหมายเศรษฐกิจ

  15. ปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจไทยในครึ่งหลังปี 2548 ปัจจัยภายในประเทศ ปัจจัยภายนอก • การส่งออกปรับตัวดีขึ้นในกลุ่มอาหาร ไก่ กุ้ง ยางพารา อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ในบ้าน สบู่และเครื่องสำอาง เป็นต้น • จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเพิ่มขึ้น • สะต็อคและ การบริหารการนำเข้าเหล็ก ทองคำ และ น้ำมัน ทำให้การนำเข้าชะลอตัว • มาตรการสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจในครึ่งหลังของรัฐบาล • ฐานรายได้ (เพิ่มเงินเดือน ค่าจ้าง รายได้ภาคเกษตร การบรรจุงานยัง lag จากจำนวนงานว่าง) • เศรษฐกิจโลกยังขยายตัวต่อเนื่อง แม้อัตราการขยายตัวจะต่ำกว่าในปี 2546-2547 • คาดว่า ในปี 2548 เศรษฐกิจโลกจะขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.2 • ปัจจัยพื้นฐานทางเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศในเอเชียยังอยู่ในเกณฑ์ดี ส่งผลให้ยังคงขยายตัวได้ดีต่อเนื่อง • สถานการณ์ด้านการลงทุนที่ยังมี momentumและอัตราการว่างงานที่ต่ำลง ทั้งใน สหรัฐฯ ญี่ปุ่น จีน และ Asia-ex Japan เป็นสัญญาณที่ดี

  16. ปัจจัยเสี่ยง/ข้อจำกัดต่อเศรษฐกิจไทยในครึ่งหลังปี 2548 ปัจจัยภายในประเทศ ปัจจัยภายนอก • น้ำแล้ง อาจจะกระทบทั้งเกษตร อุตสาหกรรมใน Eastern seaboard และการท่องเที่ยวในพัทยา และภูเก็ต • การฟื้นตัวของการท่องเที่ยวในภาพรวม และโดยเฉพาะในภาคใต้ • แรงกดดันอัตราเงินเฟ้อและแนวโน้มดอกเบี้ยขาขึ้นทำให้กระตุ้นการใช้จ่ายและการลงทุนได้น้อยกว่า 2 ปีที่ผ่านมา • สินค้าคงคลังที่อยู่ในระดับสูงใน H1 อาจจะทำให้การผลิตไม่ขยายตัวได้มากเท่ากับการใช้จ่าย • ยังมีความเสี่ยงที่เศรษฐกิจโลกจะชะลอตัวเร็วกว่าในครึ่งแรกของปี • ปัญหาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดและดุลการคลังของสหรัฐฯ (Global imbalances: Boy-cries-wolf-syndrome?) • ภาคอสังหาริมทรัพย์ร้อนแรงในสหรัฐฯ ออสเตรเลีย จีน และอังกฤษ • ราคาน้ำมันสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว • ราคาน้ำมันดิบที่อาจเพิ่มสูงขึ้นกว่าในระดับปัจจุบันซึ่งสูงมากแล้ว

  17. สมมติฐานประมาณการปี 2548

  18. Speculators Activities on NYMEX Speculators continued to sell their contracts for second consecutive weeks, resulting a net short position of 13.1 million barrel on September 20, 2005. Million Barrels of Crude Oil $/bbl Net buy (long) position Net sell (short) position Source: The Commodity Futures Trading Commission (CFTC) Note: Speculators report as non-commercials that include not only hedge fund, but also other financial institutes.

  19. แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจครึ่งหลังปี 2548 • การส่งออกมีแนวโน้มดีขึ้นกว่าครึ่งแรก (จากข้อมูลการส่งออก 8 เดือนแรก • ยาง ไก่ กุ้ง ยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์มีแนวโน้มดีขึ้น) • การนำเข้ามีแนวโน้มชะลอตัวลง เริ่มชะลอลงแล้วตั้งแต่เดือนกรกฎาคม • การท่องเที่ยวมีแนวโน้มดีขึ้น • ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มสูง โดยเฉพาะ ราคายางพารา และ ปาล์มน้ำมัน

  20. ประมาณการเศรษฐกิจ ณ5 กันยายน 2548

  21. Extending the S-curve: Immediate measures • Export and value creation • on local content • เกษตร • (ไก่, กุ้ง, โค, ยางพาราและผลิตภัณฑ์ยาง, ปาล์ม) • อุตสาหกรรม • (ยานยนต์และชิ้นส่วน) • บริการ • (ท่องเที่ยวกลุ่ม high-end, ไทยเที่ยวไทย) • ลดการพึ่งพาการนำเข้า • พัฒนาและส่งเสริมการใช้ไบโอดีเซล • 3. Infrastructure • Mega projects Source: NESDB

  22. Medium term scenario

  23. ปัญหาโครงสร้างการผลิต:การส่งออกมากขึ้นตามมาด้วยการนำเข้าเพิ่มขึ้นปัญหาโครงสร้างการผลิต:การส่งออกมากขึ้นตามมาด้วยการนำเข้าเพิ่มขึ้น ที่มา ธปท. LHS RHS

More Related