640 likes | 856 Views
รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อติวุทธ กมุทมาศ สูตินรีแพทย์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์. การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มี 2 รูปแบบใหญ่ ๆ คือ
E N D
รักลูก..... เลี้ยงเค้าให้ดี... ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยความผูกพัน... ที่แม่มี รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ อติวุทธ กมุทมาศ สูตินรีแพทย์ อาจารย์ประจำคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์มี 2รูปแบบใหญ่ ๆคือ 1. การเจริญเติบโตทางโครงสร้าง 2.การพัฒนาการเกี่ยวกับระบบการทำงานต่างๆ ของร่างกาย ปัจจัยที่ส่งผลให้มีการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ 1. กรรมพันธุ์ 2. สิ่งแวดล้อม 3. สภาวะโภชนาการ 4. การปฎิบัติตนของมารดาระหว่างตั้งครรภ์
การพัฒนาการของทารกในครรภ์การพัฒนาการของทารกในครรภ์ นับอายุครรภ์ตั้งแต่วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย ไปจนครบ 40 สัปดาห์ อายุครรภ์ 5-6 สัปดาห์ มีพัฒนาการของระบบประสาทส่วนกลางและไขสันหลัง อายุครรภ์ 8-12 สัปดาห์ ทารกมีขนาดยาว 2.5 ซม. หัวโต แขนขาพัฒนาขึ้นเห็นอย่างชัดเจน หัวใจเริ่มเต้นเป็นจังหวะ
อายุครรภ์ 16-20 สัปดาห์ ทารกมีขนาดยาวขึ้น 16 ซม.อวัยวะต่างๆพัฒนาเกือบทุกระบบ อวัยวะเพศชัดเจนสมบรูณ์ ผิวหนังดูใสและมีขนอ่อนขึ้น
อายุครรภ์ 24-28 สัปดาห์ ผิวหนังชุ่มชื้นขึ้น ปอดเริ่มทำงาน เริ่มเปิด-ปิดตา เริ่มได้ยินเสียง น้ำหนัก 600-1,000 กรัม อายุครรภ์ 32-40 สัปดาห์ ทารกมีนน.ตัวมากกว่า 1,600 กรัมขึ้นไป เจริญเติบโตเต็มที่ ปอดทำงานสมบูรณ์ เริ่มกลับศีรษะลง เตรียมพร้อมที่จะคลอด การคลอดส่วนใหญ่ จะอยู่ในช่วง 37-42 สัปดาห์
อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัวของมารดาระหว่างตั้งครรภ์อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัวของมารดาระหว่างตั้งครรภ์ อัตราการเพิ่มน้ำหนักตัว ตลอดการตั้งครรภ์ ประมาณ 10-14 กิโลกรัม ช่วงอายุครรภ์ 0-12 สัปดาห์ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1-2 ก.ก 16-20 สัปดาห์ น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1-1.5ก.ก/เดือน 24 สัปดาห์ขึ้นไป น้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น 1.5-2 ก.ก/เดือน
น้ำหนักคุณแม่ขณะตั้งครรภ์น้ำหนักคุณแม่ขณะตั้งครรภ์ เพิ่มขึ้นจาก • ตัวลูก 3,300 กรัม • รก 680 กรัม • น้ำคร่ำ 900 กรัม • มดลูกที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม • เต้านมที่ขยายขนาดขึ้น 900 กรัม • เลือดและน้ำในร่างกายที่เพิ่มปริมาณขึ้น 1,800 กรัม • ไขมันและโปรตีนของตัวคุณแม่ 4,000 กรัม
สุขภาพที่ดีของลูกน้อยกำหนดได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยปัจจัยอะไรบ้างสุขภาพที่ดีของลูกน้อยกำหนดได้ตั้งแต่อยู่ในครรภ์ด้วยปัจจัยอะไรบ้าง กรรมพันธุ์ สิ่งแวดล้อม อาหาร การปฏิบัติตนต่าง ๆ
กรรมพันธุ์ • Gene • โรคทางกรรมพันธุ์ในครอบครัว • อายุของมารดาขณะตั้งครรภ์ • โรคประจำตัวของมารดา
สิ่งแวดล้อม • สารพิษ • บุหรี่ • การทำงาน • สิ่งแวดล้อมในครรภ์ • อย่ารับประทานยาเองโดยไม่ปรึกษาแพทย์
ภาวะโภชนาการ กับอาหารของมารดาตั้งครรภ์ ‘หลากหลาย’‘พอเหมาะ’‘สมดุล’ 1-3 เดือนควรรับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5หมู่ เน้นอาหารที่มีกรดโฟลิกสูง ความจำเป็น: ทารกใช้สารอาหาร กรดโฟลิคในการสร้างอวัยวะต่างๆ และสร้างเซลสมอง 4-6 เดือนควรเน้นสารอาหาร แคลเซี่ยม เหล็ก ไอโอดีน รวมทั้งวิตามินต่างๆ ความจำเป็น: สารอาหารจำถูกนำไปใช้สร้างเซลต่างๆของอวัยวะเพิ่มขึ้น และเน้นโครงสร้างที่แข็งแรง มีขนาดเพิ่มขึ้น 7-9 เดือนควร เน้นอาหารโปรตีนจากเนื้อสัตว์ และถั่วต่างๆ กรดไขมันชนิดไม่อิ่มตัว และ วิตามินบี1,2,6,12 ความจำเป็น: เป็นระยะของการเพิ่มขนาดของเซลต่างๆ โดยเฉพาะเซลสมองที่มีการเจริญเติบโตสูงมาก
อาหารที่ควรงดและหลีกเลี่ยงของมารดาตั้งครรภ์อาหารที่ควรงดและหลีกเลี่ยงของมารดาตั้งครรภ์ • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่ปรุงไม่สุก หริอสุกๆดิบๆ • หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารกึ่งสำเร็จรูป อาหารกระป๋อง ที่มีส่วนผสมของผงชูรส • หลีกเลี่ยง เครื่องดื่มและอาหารที่มีสารคาเฟอีน เช่น ชา กาแฟ • ลดอาหารที่มีรสชาด เค็มจัด เผ็ดจัด และอาหารที่มันจัด • งดแอลกอฮอล์ และเหล้า • ลดอาหารหวานจัด
ข้อเสนอแนะ • หลากหลายแหล่งโปรตีน • ดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว
ข้อเสนอแนะ • จำกัดความหวานในอาหาร • ลดอาหารพวกแป้ง ข้าว เผือก มัน • ผลไม้รสหวาน ทุเรียน • น้ำอัดลม น้ำอ้อย น้ำตาลสด น้ำมะพร้าว
กรดไซอะลิค (Sialic Acid) • เป็นสารอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต • เป็นตัวเชื่อมการส่งสัญญาณระหว่างเซลล์ประสาท • ช่วยให้มีพัฒนาการด้านการเรียนรู้และความจำ • ทำงานร่วมกับดีเอชเอ • ดื่มนมที่ผสมกรดไซอะลิค
ไขมัน : ลดบางชนิด,เพิ่มบางชนิด ไขมันที่ควรเพิ่ม ไขมันที่ควรลด
กรดไขมัน (Fatty acid) • เกิดจากการย่อยสลายของไขมันชนิดต่างๆ • มี 2 ชนิด คือ • กรดไขมันอิ่มตัว • กรดไขมันไม่อิ่มตัว
กรดไขมันชนิดอิ่มตัวและไม่อิ่มตัว มีความสำคัญอย่างไร?
กรดไขมันอิ่มตัว • เกาะและอุดตันในหลอดเลือดได้ง่าย • พบมากในไขมันสัตว์,น้ำมันหมู,น้ำมันมะพร้าว และ น้ำมันปาล์ม • ควรหลีกเลี่ยงการรับประทาน • ดื่มนมที่มีไขมันต่ำ หรือไม่มีไขมัน
กรดไขมันไม่อิ่มตัว • ไม่เกาะและอุดตันในหลอดเลือด • พบมากในน้ำมันดอกคำฝอย, น้ำมันดอกทานตะวัน, ปลาทะเล และ สาหร่ายทะเล • มีประโยชน์ต่อพัฒนาการ ของสมองลูกน้อยในครรภ์
กรดไขมันไม่อิ่มตัวที่สำคัญกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่สำคัญ กรดไขมันทั้ง 2 ชนิดนี้จัดเป็นกรดไขมันจำเป็น (Essential Fatty Acid)ซึ่งร่างกายสร้างเองไม่ได้ ต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น
กรดไขมันโอเมก้า 3 ที่สำคัญ รับประทานอาหารที่มีกรดโอเมก้า 3 (ปลาทะเล สาหร่ายทะเล) กรดอัลฟ่าไลโนลินิก (Alpha-linolenic acid) กรดไอโคซาเปนตาโนอิก (Eicosapentaenoic acid, EPA) กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิก(Docosahexaenoic acid, DHA)
กรดไขมันโอเมก้า 6 ที่สำคัญ รับประทานอาหารที่มีกรดโอเมก้า 6 (น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันเม็ดทานตะวัน น้ำมันข้าวโพด) กรดไลโนเลอิค (Linoleic acid) กรดอะราคิโนนิค (Arachidonic acid, ARA)
DHA (ดีเอชเอ)&ARA (เออาร์เอ) • กรดไขมันไม่อิ่มตัวสายโซ่ยาว • (Long chain polyunsaturated fatty acids ,LCPUFAs, พูฟ่า) • มีธาตุคาร์บอนจับกันเป็นสายยาวตั้งแต่ 14 ตัวขึ้นไป และ • มีคาร์บอนที่จับกันมากกว่า 2 แขน ตั้งแต่ 2 ตำแหน่งขึ้นไป • มีความสำคัญต่อ • การพัฒนาเซลล์สมองของลูกน้อยในครรภ์ • การพัฒนาเซลล์ที่จอตาของดวงตาลูกน้อย • ในครรภ์
กรดไขมันโอเมก้า 9 • มีความสำคัญต่อการพัฒนาของ • เส้นใยในการรับส่งสัญญาณของเซลล์สมอง (Axonและ Dendrite) • ปลอกหุ้มเส้นใย มีมากในอาหารประเภท ไขมันเนย น้ำมันถั่วลิสง น้ำมันหมู น้ำมันมะกอก
ข้อเสนอแนะ • เพิ่มวิตามินจากอาหาร ผัก ผลไม้ • ยาเม็ดวิตามิน? • มีความจำเป็นในแต่ละชนิดของวิตามินในการพัฒนาร่างกาย เช่น วิตามิน เอ บี ซี ดี อี เค • มีไฟเบอร์จากอาหารกลุ่มนี้ช่วยเรื่องท้องผูก เพราะสตรีตั้งครรภ์มักมีปัญหาท้องผูกบ่อย
ธาตุเหล็ก • เป็นส่วนประกอบสำคัญของฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง • จำเป็นต้องรับประทานเพิ่ม เช่น ตับ • และจำเป็นต้องรับประทานจากยาเม็ดธาตุเหล็กด้วย การรับประทานอาหารอย่างเดียวไม่เพียงพอ • นมเสริมธาตุเหล็ก
โฟเลต • มีความจำเป็นต่อการเจริญเติบโตของสมอง และระบบประสาท • โรคที่เกิดจากการขาดโฟเลต • ภาวะไม่มีเนื้อสมอง • มีน้ำในสมอง • ไขสันหลังไม่ปิด • กรดโฟลิคมีมากใน • ผักใบเขียว,ถั่วเหลือง,ส้ม,กล้วย • นมเสริมโฟเลต • ในบางกรณีอาจต้องรับประทานตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์ อย่างน้อย 3 เดือน ประโยชน์อื่นๆ ของโฟเลต
แคลเซียม • ได้จากนม • อาหารที่มีแคลเซียมสูง กระดูกอ่อน ปลาเล็กปลาน้อย • ยาเม็ดแคลเซียม • พัฒนาการสร้างกระดูกและฟัน
เลซิติน • เป็นตัวสร้างอะเซตทิลโคลีน ซึ่งเป็นสารสื่อสัญญาณประสาท • หน้าที่สำคัญอื่น • เป็นองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์และเนื้อเยื่อของร่างกาย • ช่วยละลายไขมันทำให้ส่งไปในกระแสเลือดได้ • แหล่งของเลซิติน • ไข่แดง ตับ หัวใจสัตว์ • ข้าวสาลี ถั่วเหลือง เต้าหู้ • กระหล่ำดอก กระหล่ำปลี
สังกะสี • มีความจำเป็นต่อการพัฒนาการทางร่างกายและระบบสืบพันธุ์ ทารกเพศชายต้องการสังกะสีมากกว่าทารกเพศหญิงถึง 5 เท่า หากขาดอาจเกิดภาวะทองแดงและเป็นหมัน • เกี่ยวข้องกับขนาดของศีรษะทารก • ช่วยให้ฮอร์โมนของคุณแม่สมดุล ช่วยลดอาการหน้าท้องแตกลาย • ช่วยในการฟื้นตัวของคุณแม่หลังคลอดได้ดีขึ้นเพราะฮอร์โมนสมดุลขึ้น • พบในไข่ หอยนางรม ถั่ว กล้วย • นมที่ผสมสังกะสี
การปฎิบัติตนที่ดีของคุณแม่การปฎิบัติตนที่ดีของคุณแม่ • ฝากครรภ์ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ • รับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ ให้ครบทั้ง 5หมู่ • ออกกำลังกายให้สม่ำเสมอ • ดื่มน้ำสะอาดให้เพียงพออย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว / วัน • งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และคาเฟอีน • งดการสูบบุหรี่ • พักผ่อนให้เพียงพอ • ไม่ควรใช้ยารับประทานเอง ควรอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์ • ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายเป็นประจำอย่างสม่ำเสมอ
เสียงเมื่อผ่านผนังหน้าท้อง และ น้ำคร่ำจะ เบาลง 30 dB • หู ชั้นใน กลาง นอก สมบูรณ์ ช่วงกลางของการตั้งครรภ์ • ได้ยินเสียงเมื่ออายุครรภ์ ประมาณ 6 เดือน
ตอบสนองต่อเสียงดนตรี • เคลื่อนไหวตามจังหวะ • จังหวะการเต้นของหัวใจเปลี่ยนแปลง • มีรายงานพัฒนาการเรื่องการพูด การฟังดีกว่า
เพลงไพเราะ ฟังสบาย • อย่างน้อยวันละ 10 นาที
คุยกับลูก หรือ ร้องเพลง • จากการศึกษาพบว่า ทารกแรกเกิดสามารถจำเสียงของแม่ได้ • ช่วง 6 เดือนขึ้นไป • ขณะลูกตื่น ดิ้น เตะ หรือ หลังรับประทานอาหารใหม่ๆ