1.19k likes | 3.18k Views
สารและสมบัติของสาร. สาระการเรียนรู้ เคมี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4. ภาพพื้นหลังจาก http://www.chop-wood.com. คำนำ. สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน เรื่อง สารและสมบัติขอสาร
E N D
สารและสมบัติของสาร สาระการเรียนรู้ เคมี ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาพพื้นหลังจาก http://www.chop-wood.com
คำนำ สื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน เรื่อง สารและสมบัติขอสาร ด้วยโปรแกรมMicrosoft PowerPoint 2007 ได้จัดทำขึ้นเพื่อใช้ประกอบสื่อในการเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ระดับช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยเนื้อหาได้กล่าวถึง ความหมายของสารและสสาร คุณสมบัติของสาร การจำแนกประเภทของสารและการแยกสารประเภทต่างๆ ซึ่งเนื้อหาจะเริ่มจาง่ายไปยากโดยการนำเสนอผ่านโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2007 และเนื้อหาในบทเรียนนั้นสามารถแก้ไขและปรับปรุงในทันสมัยได้โดยง่าย รวมถึงนักเรียนสามารถที่จะศึกษาค้นคว้าได้ด้วยตนเอง ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนของนักเรียนได้เป็นอย่างมาก Next Home
สารบัญ คำนำ สารบัญ จุดประสงค์ เกมคำถามนี้มีคะแนน เรื่อง สสารและสมบัติของสาร เกม What is it ….. เกมข้างหลังภาพ เกมเติมคำลงในช่องว่าง เกม 4 ตัวเลือก แหล่งอ้างอิง ประวัติผู้จัดทำ Next
จุดประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เรื่องสารและสมบัติของสาร 2. ผู้เรียนสามารถจำแนกประเภทของสาร ตามสมบัติของสารได้ 3. ผู้เรียนสามารถบอกความแตกต่างของสาร ตามสมบัติของสารได้ Next Home
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ คำถามนี้มีคะแนน Next Home
วิธีการเล่นเกม 1.ให้ผู้เล่นตอบคำถามให้ถูกต้อง คำถามแต่ละข้อมีคะแนนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 2. ถ้าตอบคำถามผิดถือว่าเป็นการยุติเกม 3. เกมเศรษฐีนี้ไม่มีตัวช่วยเนื่องจากเป็นเกมก่อนเรียน Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน
คำถามข้อที่ 1 สสาร ( Matter )คืออะไร ถูกต้องนะคะ……^_^ สิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ สิ่งที่อยู่รอบๆตัวเรา ไม่มีมวล สารเคมี สิ่งมีชีวิตและพืช Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน
คำถามข้อที่ 2 เกลือแกง (Sodiumchloride) สูตรเคมี ว่าอย่างไร CFC KPO ถูกต้องนะคะ……^_^ NaCl CoNa Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน
คำถามข้อที่ 3 การสกัดด้วยไอน้ำเหมาะสำหรับการทำอะไร น้ำปลา น้ำมัน น้ำตาล ถูกต้องนะคะ……^_^ น้ำหอม Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน
คำถามข้อที่ 4 NaHCO3 อ่านว่าอย่างไร PhysicalProperty ถูกต้องนะคะ……^_^ sodium Bicarbonate ChemistryProperty Sodiumchloride Next
ระดับคะแนน 5. 100 คะแนน 4. 80 คะแนน 3. 60 คะแนน 2. 40 คะแนน 1. 20 คะแนน
คำถามข้อที่ 5 การหาจุดเดือด ( Boiling Point ) คือ จะสามารถทดสอบกับสาร ที่บริสุทธิ์ ถูกต้องนะคะ……^_^ การที่สารไม่บริสุทธิ์ หรือ สารละลายจุดเดือดไม่คงที่ อุณหภูมิที่สารเริ่มต้นหลอมจนกระทั่งสารนั้นหลอมหมด สารไม่บริสุทธิ์ ซึ่งไม่ ค่อยนิยม Next
คุณยังไม่เข้าใจ……. เรื่อง สารและสมบัติของสาร ใช่ไหมค่ะ เราลองมาศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติมกันนะคะ Home ไปศึกษาเนื้อหากันเลย
สสารและสมบัติของสาร สสาร ( Matter )คือสิ่งที่มีมวล ต้องการที่อยู่ และสามารถสัมผัสได้ หรืออาจหมายถึงสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา มีตัวตน ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ อาจมองเห็นหรือไม่เห็นก็ได้ เช่น อากาศ เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์เรียกสสารที่รู้จักแล้วว่า สาร สาร( Substance) คือ สสารที่ศึกษาค้นคว้าจนทราบสมบัติและองค์ประกอบที่แน่นอนซึ่งก็คือเนื้อของสสารนั่นเอง Next Home
ตัวอย่างของสารที่ใช้ในบ้านตัวอย่างของสารที่ใช้ในบ้าน ผงฟู (sodium Bicarbonate) สูตรเคมี: NaHCO3 เกลือแกง (Sodiumchloride) สูตรเคมี : NaCl Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
สมบัติของสาร มี 2 ประเภท คือ 1.สมบัติกายภาพ (Physical Property)หมายถึง สมบัติที่สังเกตได้จากลักษณะภายนอก และ เกี่ยวกับวิธีการทางฟิสิกส์ เช่น ความหนาแน่น , จุดเดือด , จุดหลอมเหลว 2.สมบัติทางเคมี (ChemistryProperty)หมายถึง สมบัติที่เกิดขึ้นจากการทำปฏิกิริยาเคมี เช่น การติดไฟ , การเป็นสนิม , ความเป็นกรด - เบส ของสาร Next
การจัดจำแนกสาร สามารถจำแนกออกเป็น 4 กรณี ได้แก่ 1. การใช้สถานะเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สถานะที่เป็นของแข็ง ( Solid ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรคงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดติดกัน เช่น ด่างทับทิม ( KMnO4 ) , ทองแดง ( Cu ) - สถานะที่เป็นของเหลว ( Liquid ) จะมีรูปร่างตามภาชนะที่บรรจุ และ มีปริมาตรที่คงที่ ซึ่งอนุภาคภายในจะอยู่ชิดกันน้อยกว่าของแข็ง และ มีสมบัติเป็นของไหล เช่น น้ำมัน , แอลกอฮอล์ , ปรอท ( Hg ) ฯลฯ - สถานะที่เป็นก๊าซ ( Gas ) จะมีรูปร่าง และ ปริมาตรที่ไม่คงที่ โดยรูปร่าง จะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ อนุภาคภายในจะอยู่ห่างกันมากที่สุด และ มีสมบัติเป็นของไหลได้ เช่น ก๊าซหุงต้ม , อากาศ Next
2. การใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ จะมีสมบัติทางกายภาพของสารที่ได้จากการสังเกตลักษณะความแตกต่างของเนื้อสาร ซึ่งจะจำแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ - สารเนื้อเดียว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารเหมือนกันทุกส่วน ทำให้สารมีสมบัติเหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น แอลกอฮอล์ , ทองคำ ( Au ) , โลหะบัดกรี - สารเนื้อผสม ( Heterogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีเนื้อสารแตกต่างกันในแต่ละส่วน จะทำให้สารนั้นมีสมบัติ ไม่เหมือนกันตลอดทุกส่วน เช่น น้ำอบไทย , น้ำคลอง ฯลฯ Next
3. การละลายน้ำเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ - สารที่ละลายน้ำได้ เช่น เกลือแกง ( NaCl ) , ด่างทับทิม ( KMnO4 ) ฯลฯ - สารที่ละลายน้ำได้บ้าง เช่น ก๊าซคลอรีน ( Cl2 ) , ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ( CO2 ) ฯลฯ - สารที่ไม่สามารถละลายน้ำได้ เช่น กำมะถัน ( S8 ) , เหล็ก ( Fe ) ฯลฯ 4. การนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์ จะจำแนกได้ออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ - สารที่นำไฟฟ้าได้ เช่น ทองแดง ( Cu ), น้ำเกลือฯลฯ - สารที่ไม่นำไฟฟ้า เช่น หินปูน ( CaCO3 ) , ก๊าซออกซิเจน ( O2 ) Next
แต่โดยส่วนใหญ่นักเคมี จะแบ่งสารตามลักษณะเนื้อสารเป็นเกณฑ์ ดังนี้ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
การทดสอบความบริสุทธิ์ของสารมี 3 ประเภท คือ 1. การหาจุดเดือด ( Boiling Point )การที่สารไม่บริสุทธิ์ หรือ สารละลายจุดเดือดไม่คงที่ เกิดจากอัตราส่วนระหว่างจำนวนโมเลกุลของตัวถูกละลาย และ ตัวทำละลาย เปลี่ยนแปลงไปโมเลกุลที่มีจุดเดือดต่ำจะระเหยไปเร็วกว่าทำให้สารที่มีจุดเดือดสูงในอัตราส่วนที่ มากกว่าจึงเป็นผลให้จุดเดือดสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยดูจากรูปที่แสดงเป็นกราฟ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
2. การหาจุดหลอมเหลว ( Melting Point )จะสามารถทดสอบกับสารที่บริสุทธิ์ และสารที่ไม่บริสุทธิ์ได้ โดย- สารบริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวคงที่ และ มีอุณหภูมิช่วงการหลอมเหลวแคบ - สารไม่บริสุทธิ์จะมีจุดหลอมเหลวไม่คงที่ และ มีอุณหภูมิในช่วงการหลอมเหลวกว้างซึ่งอุณหภูมิฃ่วงการหลอม หมายถึง อุณหภูมิที่สาร เริ่มต้นหลอมจนกระทั่งสารนั้นหลอมหมดโดยในอุณหภูมิช่วงการหลอมถ้าแคบต้องไม่เกิน 2 องศาเซลเซียส โดยดูจากรูปที่แสดงเป็นกราฟ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
3. การหาจุดเยือกแข็ง ( Freezing Point )จะสามารถทดสอบกับสารบริสุทธิ์ และ สารไม่บริสุทธิ์ ซึ่งไม่ค่อยนิยม เพราะจะต้องใช้เวลานานมากในการหาจุดเยือกแข็ง โดย - สารบริสุทธิ์จะมีจุดเยือกแข็งคงที่ - สารไม่บริสุทธิ์จะมีจุดเยือกแข็งไม่คงที่ โดยดูจากรูปที่แสดงเป็นกราฟ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
การแยกสารใช้ในการแยกสารประกอบซึ่งมี 7 วิธี ได้แก่ 1. การกลั่นเหมาะสำหรับแยกของเหลวที่ปนเป็นเนื้อเดียวกัน โดยทำให้ของเหลวกลายเป็นไอ แล้วทำให้ควบแน่นเป็นของเหลวอีก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ - การกลั่นธรรมดาเหมาะสำหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันประมาณ 80 องศาเซลเซียส ขึ้นไป แต่อุณหภูมิตั้งแต่ 40 องศาเซลเซียส ก็จะเกิดกระบวนการแล้ว Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
- การกลั่นลำดับส่วนเหมาะสำหรับสารที่มีจุดเดือดต่างกันเพียงเล็กน้อย ซึ่งจะมีข้อเสีย คือ จะใช้พลังงานเป็นจำนวนมาก และมีความสลับซับซ้อน การกลั่นลำดับส่วนบางครั้งไม่ได้แยกสารให้บริสุทธิ์ แต่แยกเพื่อประโยชน์ในการนำไปใช้ เช่น การแยกน้ำมันดิบ โดยจะแยกพวกที่มีจุดเดือดใกล้เคียงไว้ด้วยกัน แต่ถ้าสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันมาก แต่ไม่มีเครื่องกลั่นลำดับส่วนก็สามารถกลั่นได้ด้วยเครื่องกลั่นธรรมดาแต่จะต้องกลั่นหลาย ๆ ครั้ง จนกระทั่งจุดเดือด และจุดหลอมเหลวคงที่ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
2. การใช้กรวยแยกเหมาะสมกับสารที่เป็นของเหลว และ จะต้องเป็นสารที่ไม่ละลายต่อกัน หรือ จะต้องมีขั้วต่างกัน เช่น น้ำ และ น้ำมัน Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
3. การกรองเหมาะสำหรับของแข็งที่ไม่ละลายน้ำ หรือ ของแข็งที่ละลายน้ำ และ ไม่ละลายน้ำปนอยู่ด้วยกัน เช่น หินปูน และ น้ำ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
4. การตกผลึกเหมาะสำหรับสารที่สามารถละลายได้เป็นปรากฏการณ์ที่ตัวถูกละลายที่เป็นของแข็ง แยกตัวออกจากสารละลายได้เป็นของแข็งที่มีรูปทรงเรขาคณิต โดยสารใด ๆ ที่ละลายในน้ำอยู่ในจุดอิ่มตัวจะตกเป็นผลึก ถ้ามากเกินพอจะเป็นการตกตะกอนของสาร Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
5. การสกัดด้วยไอน้ำเหมาะสมสำหรับการสกัดพวกน้ำมันหอมระเหยจากพืช และ การทำน้ำหอม ( CH3COOH2O ) โดยมีหลักสำคัญ ดังนี้ - จุดเดือดต่ำจะระเหยง่าย ถ้าเป็นสารที่มีจุดเดือดสูง จะต้องการกลั่นโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงความดันในระบบ - สารส่วนใหญ่ไม่ละลายน้ำ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
6. การสกัดด้วยตัวทำละลายเหมาะสมกับสารที่ระเหยง่าย โดยมีหลักสำคัญดังนี้ - ถ้าสารมีความสามารถในการละลายในตัวทำละลายต่างชนิดกันสามารถแยกสารออกจากกันได้ - หลักการเลือกตัวทำละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทำละลายที่ดี คือ ต้องเลือกตัวทำละลายที่ละลายสารที่ต่างกัน การสกัดออกมามากที่สุด และสิ่งเจือปนนั้นจะต้องติดมาน้อยที่สุด Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
7. การโครมาโทรกราฟฟีเหมาะสมสำหรับการแยกสารที่มีความสามารถในการละลาย และ ดูดซับไม่เท่ากัน , สารที่มีปริมาณน้อย และ ไม่มีสี โดยหลักสำคัญ มีดังนี้ - ในการทดลองทุกครั้งจะต้องปิดฝา เพื่อป้องกันตัวทำละลายแห้ง ในขณะที่เคลื่อนที่บนตัวดูดซับ - ถ้าสารเคลื่อนทีใกล้เคียงกันมาก แสดงว่าสารมีความสามารถในการละลาย และ ดูดซับได้ใกล้เคียง และ จะแก้ไขได้โดย การเปลี่ยนตัวทำละลาย หรือ เพิ่มความยาวของดูดซับได้ แต่สารที่เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่ากันในตัวทำละลาย และ ตัวดูดซับใกล้เคียงกัน มักจะสรุปได้ว่าสารนั้นเป็นสารเดียวกัน Next
โดยวิธีนี้สามารถทำให้สารบริสุทธิ์ได้ โดยตัดแบ่งสารที่ต้องการละลายในตัวทำละลายที่เหมาะสม แล้วระเหยตัวทำละลายนั้นทิ้งไป แล้วนำสารนั้นมาทำการโครมาโทรกราฟีใหม่ จนได้สารบริสุทธิ์ Next รูปโดย http://www.thaigoodview.com/node/98306
เรียนจบแล้วค่ะ เราไปทดสอบความรู้ ตัวเองกันดีกว่า Next Home
What is it ข้างหลังภาพ เติมคำในช่องว่าง 4 ตัวเลือก Home
Welcome to... เกม What is it Next
วิธีการเล่นเกม 1. ตัวแทนผู้เรียนมายืนหน้าชั้นแล้วหันหลังให้สไลด์ 2. ผู้เรียนในชั้นช่วยกันใบ้ชื่อสิ่งของที่อยู่บนสไลด์ Next
00.10 00.09 00.08 00.07 00.06 00.05 00.04 00.03 00.02 00.01 00.00 เมนูเกม
เกมข้างหลังภาพ Next
วิธีการเล่นเกม 1.ผู้สอนจะเปิดป้ายทีละป้ายเพื่อให้ผู้เรียนรูปว่าข้างหลังป้ายเป็นรูปอะไร 2.ผู้เรียนสามารถขอตอบไปทุกเวลาเมื่อมั่นใจ 3.คะแนนจะได้ตามป้ายที่เหลือ ป้ายละ 2 คะแนน Next
Remove Box ผงฟู สูตรเคมี: NaHCO3 เมนูเกม
จงเติมคำ ในช่องว่าง Next
จงเติมคำในช่องว่างให้สมบูรณ์ 1.คุณสมบัติของสารแบ่งเป็นกี่ประเภท............................................... 2.จากข้อ 1 คุณสมบัติของสารมีอะไรบ้าง……………….………………………. 3.การจำแนกสารสามารถแยกได้กี่กรณี……………………………………..……. 4.การจำแนกสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม…………………….. 5.การจำแนกสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์มีอะไรบ้าง……………………………… 6.การจำแนกโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม………………………... 7.การจำแนกสารโดยใช้การละลายเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม…………………. 8.การจำแนกโดยใช้การนำไฟฟ้าเป็นเกณฑ์แบ่งออกเป็นกี่กลุ่ม…………………… 9.การทดสอบความบริสุทธิ์ของสารมี 3 ประเภทอะไรบ้าง…………………………………………………………………….…… 10.การแยกสารมีทั้งหมดกี่วิธี…………………………………………………….. 2 ประเภท สมบัติทางกายภามและสมบัติทางเคมี 4 3 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส 2 3 2 การหาจุดเดือด การหาจุดหลอมเหลว การหาจุดเยือกแข็ง 7 เมนูเกม
ยินดีต้อนรับเข้าสู่ 4 ตัวเลือก Next Next
กติกาการเล่น 1.ให้ผู้เรียนทำแบบทดสอบโดยการ - ช่วยกันตอบ 2.แบบทดสอบมี 5 ข้อ ข้อละ 4 ตัวเลือก 3.จงเลือกตอบข้อที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว Next
1. ข้อความใดต่อไปนี้ถูกต้อง สารบริสุทธิ์ทุกชนิดเป็น สารเนื้อเดียวกันแต่สาร เนื้อเดียวกันไม่จำเป็นต้อง เป็นสารบริสุทธิ์ 1 สารละลายทุกชนิดจัด เป็นของเหลวเนื้อเดียวกัน 2 3 สารเนื้อเดียวจะต้องเป็น สารเพียงชนิดเดียวเท่านั้น 4 สารละลายบางชนิด จัดเป็นสารบริสุทธิ์