640 likes | 2.12k Views
กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน. แนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุ. วิธีเกี่ยวกับวิศวกรรม (Engineering) วิธีเกี่ยวกับการศึกษา (Education) วิธีเกี่ยวกับการออกกฎข้อบังคับ (Enforcement). ข้อเด่นของวิธีการให้การศึกษา. ใช้ต้นทุนน้อย ได้ปริมาณมาก เหมาะสมและสอดคล้องในสถานการณ์
E N D
กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน แนวทางในการป้องกันอุบัติเหตุ • วิธีเกี่ยวกับวิศวกรรม (Engineering) • วิธีเกี่ยวกับการศึกษา (Education) • วิธีเกี่ยวกับการออกกฎข้อบังคับ (Enforcement) ข้อเด่นของวิธีการให้การศึกษา • ใช้ต้นทุนน้อย • ได้ปริมาณมาก • เหมาะสมและสอดคล้องในสถานการณ์ • มีความหลากหลายในรูปแบบของกิจกรรมที่ดำเนินการ • เป็นการแก้ปัญหาได้ตรงจุดที่สุด
กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงานกิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน • เป็นกิจกรรมที่สถานประกอบการจัดเพื่อรณรงค์ความปลอดภัยแก่ลูกจ้าง • เพื่อให้สนองต่อนโยบายและแผนการดำเนินการด้านความปลอดภัย การจัดนิทรรศการ การตอบปัญหาความปลอดภัย การทัศนะศึกษา การบรรยายพิเศษ การตรวจสุขภาพอนามัย การจัดฉายวิดีโอ การประกวดคำขวัญ การรณรงค์ความปลอดภัย การเผยแพร่บทความ การประกวดภาพโปสเตอร์ การกระจายเสียงบทความ กิจกรรม 5 ส เพื่อความปลอดภัย
การจัดนิทรรศการ การแสดงด้วยรูปภาพหรือวิดีโอ กระทำได้ 2 ลักษณะ • ลักษณะสร้างสรรค์ กล่าวถึง ลักษณะการทำงานที่ปลอดภัย • ผลลบที่เกิด อาจทำให้กลัว มีทัศนคติที่ไม่ดีกับงานประเภทนั้น ๆ การบรรยายพิเศษ • การบรรยายเรื่องทั่วไป เช่น ปัญหาและสาเหตุของการประสบอันตรายในการทำงาน • การบรรยายเรื่องเฉพาะเจาะจง เช่น ความปลอดภัยในเกี่ยวกับการระบบระบายอากาศ • การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย • ใช้เวลาในการบรรยาย ประมาณ 3 ชั่วโมง หรือ 1 วัน • หัวข้อในการบรรยาย • 5 ส เพื่อความปลอดภัย • การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย • การเคลื่อนย้ายวัสดุ และการเก็บรักษา (วิธียกเคลื่อนย้ายวัสดุ)
การประกวดคำขวัญความปลอดภัยการประกวดคำขวัญความปลอดภัย • เป็นการรณรงค์พัฒนาจิตสำนึกของพนักงาน • กลั่นกรองออกมาเป็นข้อความเตือนใจตนเอง • 2) ต้องมีกติกาที่ชัดเจน และมีฝ่ายที่รับผิดชอบ การประกวดภาพโปสเตอร์ • เป็นการให้พนักงานได้มีส่วนร่วมในการผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ • กระตุ้นจิตสำนึก • ผลการประกวดยังสามารถทำชื่อเสียงให้ได้ด้วย • การตัดสิน เน้นที่การสื่อความหมายได้ชัดเจน,สวยงาม
การตรวจสุขภาพอนามัย และทดสอบสมรรถภาพ • การตรวจร่างกายทั่วไป • การวิเคราะห์ผลการทำงานของร่างกาย เช่น สายตา ปอด • การทดสอบความแข็งแกร่ง เช่น กล้ามเนื้อ แขน ขา • การวิเคราะห์เพื่อประเมินผลกระทบจากสารเคมี เช่น ตะกั่วในเลือด เม็ดเลือดแดง การตรวจเพื่อเป็นการเฝ้าระวังโรคที่จะเกิดกับตนเอง การจัดหรือปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน ให้มีสภาพการเสี่ยงน้อยลง หรือการขจัดให้สิ้นไป
ตารางพฤติกรรมของปอดและหัวใจของคนงานที่ทำงานต่างลักษณะตารางพฤติกรรมของปอดและหัวใจของคนงานที่ทำงานต่างลักษณะ อัตราหัวใจเต้น ครั้ง/นาที ปริมาณลม ที่ผ่านปอด ลิตร/นาที ปริมาณออกซิเจน ที่ร่างกายต้องการ ลิตร/นาที เปอร์เซ็นต์ ออกซิเจนที่สูดดม สภาพการทำงาน พักผ่อน 0.25-0.3 6-7 20 60-70 ทำงานเบา ๆ 0.5- 1.0 11-12 22 70-100 ทำงานหนักปานกลาง 1.0-1.5 20-31 23 100-125 ทำงานหนัก 1.5 – 2.0 31-43 23 125-150 ทำงานหนักมาก 2.0 – 2.5 43-56 22 150-175 เล่นกีฬาที่หนักมาก ๆ 2.5 – 4.0 60 – 100 20 เกินกว่า 175
การรณรงค์การใช้อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคลการรณรงค์การใช้อุปกรณ์คุ้มครองส่วนบุคคล • การขจัดที่ต้นเหตุอาจต้องลงทุนสูง และเป็นอุปสรรคต่อการทำงาน • การบรรเทาปัญหา คือ การให้พนักงานใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล • บ่อยครั้งพนักงานไม่ใช้ ก็เป็นการลงทุนที่สูญเปล่า • ใช้การรณรงค์ อาจจะใช้กลยุทธ์การแข่งขัน • ออกเป็นกฎระเบียบให้ทุกคนได้ถือปฏิบัติ
การประกวดรายงานสภาพงานที่ไม่ปลอดภัยการประกวดรายงานสภาพงานที่ไม่ปลอดภัย สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย ประสิทธิภาพการผลิต • การค้นหาอันตราย หรือสภาพงานที่ไม่ปลอดภัย • ให้พนักงานมีความรู้ ความเข้าใจ และปฏิบัติงานได้ถูกต้อง ปลอดภัย • ให้พนักงานเรียงลำดับ ขั้นตอนการทำงานที่ไม่ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพมากขึ้น • หัวหน้าเป็นที่ปรึกษา รับผลงานมาพิจารณา • เป็นกรรมการตัดสิน • ใช้กลไกคณะกรรมการความปลอดภัยของบริษัท
การกระจายเสียงบทความ • ใช้เวลาไม่มากนัก 3-5 นาที • ใช้เวลาในช่วงพักเบรก หรือ พักรับประทานอาหารเที่ยง • ควรเป็นความรู้ที่เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน หรือ จากสถิติที่ต้องการกระตุ้นเตือน การเผยแพร่บทความในวรสาร • คอลัมน์ ความปลอดภัย • นิยตสารหรือวารสารของบริษัท การประกวดความสะอาด • ความสะอาดที่ยั่งยืน • การกำหนดมาตรฐานความสะอาดให้ชัดเจน
กิจกรรม 5 ส เพื่อความปลอดภัย • สะสาง • สะดวก • สะอาด • สุขลักษณะ • สร้างนิสัย มุ่งขจัดสาเหตุของอุบัติเหตุ • การกระทำที่ไม่ปลอดภัย • สภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย 5 ส แบบพื้นฐาน : 5 ส แบบพัฒนา
กิจกรรม KYT (การฝึกสร้างจิตสำนึกเพื่อค้นหาอันตราย) • เป็นการลดความผิดพลาดของพนักงาน (Human Error) • เช่น ความเผลอเรอ เหม่อลอย ซุ่มซ่าม ทำงานลัดขั้นตอน จนเป็นผลให้เกิดอุบัติเหตุ Kiken คือ Danger หรือ อันตราย Yochi คือ Prediction / Detection คือ การหยั่งรู้ (คาดการณ์) Training คือ การฝึกอบรม • การฝึกเพื่อการหยั่งรู้อันตราย โดยมีเป้าหมายที่ อุบัติเหตุเป็นศูนย์ • ใช้หลักการ KY • ให้ทุกคนตระหนักโดยการระดมสมอง ในการป้องกันอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้น โดยการหาสาเหตุ • ตั้งเป้าหมายและทุกคนปฏิบัติตาม - การทำมือชี้และปากย้ำเตือนสติ เป็นการย้ำขั้นตอนที่สำคัญในการทำงาน - ผลที่ได้จาก KYT คือ ทำให้เกิดความรู้สึกฉับไวขึ้น,ทำให้มีสมาธิดีขึ้น,มีความกระตือรือร้นในการทำงาน
การตอบปัญหาชิงรางวัล • การให้พนักงานมีส่วนร่วมควรให้ตอบปัญหาในหน้างาน • อาจจัดเป็นทีม เพื่อส่งเสริมให้กล้าแสดงออก และมีส่วนร่วมมากขึ้น • จัดในลักษณะส่งชิงรางวัล และจับรางวัลช่วงปลายเดือน • จัดในลักษณะเกมโชว์ การทำแผ่นป้ายแสดงสถิติอุบัติเหตุ หรือป้ายประกาศ • แสดงสถิติอุบัติเหตุ • ติดบริเวณที่ทุกคนเห็นได้ชัดเจน • อาจเป็นข้อความ รูปถ่าย บทความ • ควรทำตัวอักษรให้โต ดึงดูดความสนใจ และแทรกด้วยคติเพื่อให้ทุกคนได้ตระหนัก
การแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัยการแต่งตั้งคณะกรรมการความปลอดภัย •คณะกรรมการมีหน้าที่บริหารจัดการ เพื่อเสนอแนะต่อฝ่ายบริหาร • การจัดฉายวิดีโอความปลอดภัย การทัศนะศึกษาในสถานประกอบการอื่น • พนักงานได้พบเห็นสภาพแวดล้อมใหม่ ๆ • นำมาพัฒนาปรับปรุง ในส่วนที่ทำหน้าที่อยู่ • ควรกำหนดวัตถุประสงค์ของการทัศนะศึกษาให้ชัดเจน End