230 likes | 491 Views
หัวข้อการบรรยาย. 1. วิวัฒนาการของกฎหมายทะเล. 2. อนุสัญญาระหว่างประเทศ. 3. หลักเสรีภาพทางท้องทะเล. 4. การประกาศสิทธิครอบครองของ อาณาเขต โดยรัฐชายฝั่ง. 5. หลัก COMMON HERITAGE OF MANKIND. ศึกษาอำนาจอธิปไตยและสิทธิอธิปไตย ของรัฐในการใช้ประโยชน์จากทะเล วิเคราะห์
E N D
หัวข้อการบรรยาย 1. วิวัฒนาการของกฎหมายทะเล 2. อนุสัญญาระหว่างประเทศ 3. หลักเสรีภาพทางท้องทะเล 4. การประกาศสิทธิครอบครองของ อาณาเขต โดยรัฐชายฝั่ง 5. หลัก COMMON HERITAGE OF MANKIND
ศึกษาอำนาจอธิปไตยและสิทธิอธิปไตย ของรัฐในการใช้ประโยชน์จากทะเล วิเคราะห์ หลักการ และเหตุผลในการร่างกฎหมายทะเล ตั้งแต่การประชุมกฎหมายทะเลครั้งที่ 1 ถึง ปัจจุบัน ปัญหาเขตแดนทางทะเล ทรัพยากร ทะเล การควบคุมมลพิษทางทะเล ปัญหาการ ประมง ปัญหาข้อกฎหมายและผลกระทบต่างๆ อันเกิดขึ้นจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีและ ทางสังคม
การผ่านโดยสุจริต (INNOCENT PASSAGE) 1. เรือของทุกรัฐมีสิทธิอุปโภค 2. การผ่าน หมายถึงการเดินเรือผ่าทะเล อาณาเขตเพื่อผ่านทะเลอาณาเขต โดยไม่เข้าไปในน่านน้ำภายใน หรือ ที่จะเดินทางไปยังน่านน้ำภายใน หรือ ที่จะออกไปสู่ทะเลหลวง
การผ่านโดยสุจริต (INNOCENT PASSAGE) 3. การผ่าน หมายถึงการหยุดและการ ทอดสมอด้วย 4. การผ่าน ถือว่าสุจริตตราบเท่าที่ไม่เป็น การเสื่อมเสียต่อสันติภาพความสงบ เรียบร้อย หรือความมั่นคงของรัฐชายฝั่ง และต้องสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ของรัฐ ชายฝั่ง และกฎหมายระหว่างประเทศ
การผ่านโดยสุจริต (INNOCENT PASSAGE) 5. เรือประมงต้องงดเว้นทำการประมง 6. เรือดำน้ำต้องเดินบนผิวน้ำและแสดงธง ของตน 7. เรือรบต้องปฏิบัติตามข้อบังคับของรัฐ ชายฝั่ง หากไม่ปฏิบัติตามและละเลยต่อ คำร้องขอ รัฐชายฝั่งอาจขอให้เรือรบนั้น ออกจากทะเลอาณาเขตได้
เส้นฐาน(BASELINE) 1. เส้นฐานปกติ (NORMAL BASELINE)แนวน้ำลง ต่ำสุดตลอดชายฝั่งทะเล 2. เส้นฐานตรง (STRAIGHT BASELINE)หากชายฝั่ง ทะเลมีลักษณะเว้าแหว่งตัดลึกเข้ามาในฝั่งหรือ เป็นแหลมยื่นไปในทะเล ให้กำหนดเส้นฐานโดย การลากเส้นตรงเชื่อมจุดนอกสุดของแผ่นดินตาม แนวชายฝั่ง และหากมีเกาะเป็นแนวตามฝั่งทะเล ในบริเวณใกล้เคียงต่อเนื่องกัน ให้ลากเส้นตรง เชื่อมจุดนอกสุดของเกาะตลอดแนวชายฝั่ง
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการประชุมสหประชาชาติว่าด้วย กฎหมายทะเล ครั้งที่ 3 (UNCLOS3) ระหว่าง 1973 - 1982 มีประเทศเกิดใหม่หลายประเทศ ซึ่งไม่ยอมเป็นภาคีกับอนุสัญญา เจนีวา 1998 ประเทศมหาอำนาจใหม่คือ จีน
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการประชุมสหประชาชาติว่าด้วย กฎหมายทะเล ครั้งที่ 3 (UNCLOS3) ปี ค.ศ. 1967 ทูต ARVID PARDO ซึ่งเป็นตัวแทนของรัฐ MALTA ประจำสหประชาชาติ เสนอหลักการ COMMON HERITAGE OF MANKIND
การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการประชุมสหประชาชาติว่าด้วย กฎหมายทะเล ครั้งที่ 3 (UNCLOS3) สมัชชาใหญ่สหประชาชาติได้รับรอง เป็นข้อมติ 2467 (XXIII)ให้มีการ จัดตั้งคณะกรรมการเกี่ยวกับก้นทะเล (SEA - BED COMMITTEE)
ระหว่าง 24 ก.พ. - 27 เม.ย. 1958 มติโดยสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ได้ยอมรับอนุสัญญา 4 ฉบับ ภายใต้ ชื่อว่า อนุสัญญากรุงเจนีวา ว่าด้วย กฎหมายทะเล ค.ศ. 1958 ประกอบ ด้วย
อนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขตอนุสัญญาว่าด้วยทะเลอาณาเขต และเขตต่อเนื่อง อนุสัญญาว่าด้วยทะเลหลวง อนุสัญญาว่าด้วยการทำประมง และการอนุรักษ์ทรัพยากรที่มีชีวิต ในทะเล อนุสัญญาว่าด้วยไหล่ทวีป
ไทยลงนามเมื่อ 29 เม.ย. 2501 (1958) และ ให้สัตยาบันเมื่อ 23 พ.ค. 2511 (1968) ประเทศมีอิสสระที่จะเลือกเป็นภาคี
การประชุมแบ่งเป็น 3 วาระ การประชุม วาระที่ 1 ขั้นเตรียมการจัดขึ้น ที่ N.Y.ปี 1973 วาระที่ 2 ที่กรุง CARACASปี 1974 วาระที่ 3 ที่กรุงเจนีวา ปี 1975
ประชุมโดยภาคีของสหประชาชาติประชุมโดยภาคีของสหประชาชาติ พิจารณาไปพร้อมๆกัน ใช้เวลานานมาก ไม่ให้ตั้งข้อสงวน เปิดให้ลงนามและให้สัตยาบันที่กรุง MONTEGO BAY ประเทศ JAMAICA ระหว่าง 6 - 10 ธ.ค. 1982
อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วย กฎหมายทะเล (THE UNITED NATION CONVENTION ON THE LAW OF THE SEA) 1982
ปี ค.ศ. 1970 สมัชชาใหญ่ สหประชาชาติลงมติเรียกประชุม กฎหมายระหว่างประเทศว่าด้วยทะเล ครั้งที่ 3 โดยตกลงให้จัดประชุมที่ กรุง CARACASประเทศ VENEZUALA ระหว่าง วันที่ 21 มิ.ย. - 29 ส.ค. 1974
คณะกรรมการประกอบไปด้วยคณะกรรมการประกอบไปด้วย คณะกรรมการที่ 1 พิจารณาเฉพาะ ทะเลส่วนที่อยู่นอกเขตอำนาจรัฐ คณะกรรมการที่ 2 พิจารณาเฉพาะ ทะเลส่วนที่อยู่ในขอบเขตอำนาจรัฐ คณะกรรมการที่ 3 พิจารณาเรื่อง เกี่ยวกับการรักษาสภาพแวดล้อมใน ทะเลและการค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์
มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการใช้ทะเลมีบทบัญญัติเกี่ยวกับการใช้ทะเล 320 ข้อ และ 9 ภาคผนวก มีผลบังคับใช้ 12 เดือนหลังจากมี การส่งมอบสัตยาบันสารให้กับ เลขาธิการสหประชาชาติครบ 60 สัตยาบันสารแล้ว
ประเทศGUYANA เป็นประเทศที่ 60 ที่ให้สัตยาบันสาร เมื่อ 16 พ.ย. 2536 (1993) จึงมีผลบังคับใช้ เมื่อ 16 พ.ย. 2537 (1994) ประเทศไทยยังมิได้ให้สัตยาบันสาร