1 / 37

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงาน ของประเทศไทย

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงาน ของประเทศไทย. นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการมูลนิธิพลังที่ยั่งยืน Energy Forum: ทางเลือก ทางรอด ไฟฟ้าไทย ? 28 มิถุนายน 2555. หัวข้อนำเสนอ. ความท้าทายด้านพลังงานของโลก. ความท้าทายด้านพลังงานของไทย. ความท้าทายด้านไฟฟ้าของไทย. ทิศทางพลังงานไทย. 1.

Download Presentation

ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงาน ของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทยข้อเท็จจริงสถานการณ์พลังงานของประเทศไทย นายประเสริฐ บุญสัมพันธ์ ประธานกรรมการมูลนิธิพลังที่ยั่งยืน Energy Forum: ทางเลือก ทางรอด ไฟฟ้าไทย? 28 มิถุนายน 2555

  2. หัวข้อนำเสนอ ความท้าทายด้านพลังงานของโลก ความท้าทายด้านพลังงานของไทย ความท้าทายด้านไฟฟ้าของไทย ทิศทางพลังงานไทย 1

  3. โลกกำลังเผชิญกับวิกฤติการณ์ต่างๆโลกกำลังเผชิญกับวิกฤติการณ์ต่างๆ Economic/Financial Crisis Poverty-related Crisis Crisis Environmental Crisis International Conflict Natural Disaster 2

  4. รวมถึงอุตสาหกรรมพลังงานโลกกำลังเผชิญกับความท้าทายที่เพิ่มขึ้นรวมถึงอุตสาหกรรมพลังงานโลกกำลังเผชิญกับความท้าทายที่เพิ่มขึ้น • ความท้าทายที่เพิ่มขึ้นประกอบด้วย 1 2 V U olatility ncertainty ความผันผวน ความไม่แน่นอน 3 4 C A omplexity mbiguity ความซับซ้อน ความคลุมเครือ 3

  5. Dec 31, 2011 USD 106.5/bbl July 2008 USD 144.2/bbl Dec 31, 2010 USD 92.5/bbl Dec 31, 2007 USD 96/bbl Dec 31, 2009 USD 77.7/bbl Dec 31, 2008 USD 36.5/bbl ราคาพลังงานมีความผันผวนรุนแรงขึ้นThe new world: Volatility 1 Brent spot price FOB USD/bbl June 21, 2012 USD 89.2 /bbl 2007 2008 2009 2010 2011 2012 4

  6. The new world: Uncertainty 2 US Shale Gas Discovery Estimate recoverable resource 827 tcf Source: EIA, Times(Mar 2011) 5

  7. Technologybreakthrough for additional petroleum supply Need for more green products The new world: Complexity 3 From maximizing shareholders’value To optimizing stakeholders’value Government Customers Share holders Higher expectations Employees Partners/ Supplier People/ Society/ NGOs Geopolitics problem 6

  8. The new world: Ambiguity 4 European economic crisis US Debt Crisis World political conflicts Slow-down Chinese Economy 7 7

  9. ความท้าทายที่สำคัญของโลกคือการจัดหาพลังงานให้เพียงพอกับความต้องการพลังงานที่เติบโตขึ้นตามจำนวนประชากรและเศรษฐกิจความท้าทายที่สำคัญของโลกคือการจัดหาพลังงานให้เพียงพอกับความต้องการพลังงานที่เติบโตขึ้นตามจำนวนประชากรและเศรษฐกิจ ความต้องการพลังงานจะมาจากประเทศกำลังพัฒนา จำนวนประชากรของโลก ความต้องการใช้พลังงานขั้นต้นเชิงพาณิชย์ ล้านบาร์เรล/วันเทียบเท่าน้ำมันดิบ CAGR 1.1% (’10-’30) ล้านบาร์เรล/วันเทียบเท่าน้ำมันดิบ CAGR 1.7% (’90-’10) 3% พลังน้ำ นิวเคลียร์ 9% 3% 7% 2011 6.9 billion 2% 24% 6% 175 153 175 214 242 242 268 214 268 153 26% ถ่านหิน 2% 7% 28% 2% Non OECD 6% 24% 29% ก๊าซธรรมชาติ 27% 27% 56% 60% 64% 47% 46% 25% 24% 23% 44% 36% 40% 54% น้ำมัน 35% 37% 42% 42% 38% 53% OECD ในปี 2030 ประชากรโลกจะเพิ่มสูงถึง 8 พันล้านคน โดย 85% อาศัยอยู่ในประเทศ Non OECD 8 ที่มา:The Outlook for Energy: A View to 2030, ExxonMobil

  10. การแสวงหาแหล่งพลังงานใหม่เป็นสิ่งจำเป็นในอนาคตการแสวงหาแหล่งพลังงานใหม่เป็นสิ่งจำเป็นในอนาคต Oil & gas still play major roles to serveworld’s primary energy demand. Unconventional resources will become a key sources for oil and gas production mmboepd Production growth CAGR 1.1% (’10-’30) mmboepd (mmboepd) CAGR 1.7% (’90-’10) 3% Hydro Nuclear 9% 3% 7% 2% 24% 6% 175 242 214 268 153 26% Coal 2% 7% 28% 2% 6% 24% 29% Natural Gas 27% 27% 25% 24% 23% OIL 35% 37% 42% 42% 38% Source: EIA; WoodMac; Deutsche Bank; team analysis

  11. ในระยะยาวราคาน้ำมันดิบคาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้นในระยะยาวราคาน้ำมันดิบคาดว่าจะปรับตัวเพิ่มขึ้น จากเศรษฐกิจที่ฟื้นตัวและต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น 10

  12. 1. สภาพอากาศ โลกกำลังตื่นตัวกับปัญหาภาวะโลกร้อน หากอุณหภูมิโลกเพิ่มขึ้น 2 องศา คาดว่าจะก่อให้เกิดมหันตภัยอย่างรุนแรงทั่วโลก การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิ (เปรียบเทียบกับช่วงก่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรม) 1º องศา 2º องศา 3º องศา 4º องศา 5º องศา ความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นของภัยธรรมชาติ ได้แก่ พายุ ไฟป่า ภัยแล้ง น้ำท่วม และคลื่นความร้อน 2. น้ำ ภัยคุกคามต่อแหล่งน้ำจากการละลายของธารน้ำแข็ง การเปลี่ยนแปลงของแหล่งน้ำตามธรรมชาติ ซึ่งจะกระทบต่อประชากรมากกว่า 1 พันล้านคน เมืองใหญ่ทั่วโลกถูกคุกคามด้วยระดับน้ำทะเลที่เพิ่มสูงขึ้น/เกิดน้ำท่วม 3. อาหาร ผลผลิตทางการเกษตรในประเทศกำลังพัฒนาลดลง ผลผลิตทางการเกษตรในประเทศที่ พัฒนาแล้วลดลง 4. ระบบนิเวศน์ ระบบนิเวศน์ชายฝั่งทะเลและแนวปะการังได้รับความเสียหาย สิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดเป็นจำนวนมากจะสูญพันธุ์ 5. สังคม ประชากรโลกมากกว่า 1 พันล้านคนเสี่ยงต่อการย้ายถิ่นฐานจากปัญหาความขัดแย้งจากการแย่งทรัพยากร/ที่อยู่อาศัย/ที่ทำกิน 6. จีดีพี จีดีพีโลกลดลงมากกว่า 20% จีดีพีลดลงในประเทศ กำลังพัฒนา ที่มา: Neftel et al., 1994; Etheridge et al., 1998; Smith et al., 2001; Indermühle et al., 1999 and 2000;Barnola et al., 2003; Keeling et al., 2004; IPCC, 2007; Stern Review; McKinsey analysis 11

  13. การใช้พลังงานเป็นสาเหตุหลักของภาวะโลกร้อน ดังนั้นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานเป็นปัจจัยสำคัญในการลดภาวะโลกร้อน Power plants, industries, and transportation sectors are major GHGpolluters Energy efficiency and the use renewable energy are the most effective means to reduce GHG GHG Emission GHG Reduction Waste disposal and treatment Land use and biomass burning Bio Fuel 3% Efficiency of power plant 5% Power stations Residential, commercial, others Carbon capture storage 10% Energy efficiency 52% Nuclear 10% Industrial processes Renewable 20% Agricultural byproducts Fossil fuel processing Transportation fuels ที่มา:IEA ที่มา:IEA, IIEC 12

  14. ธุรกิจพลังงานกำลังมุ่งสู่การใช้พลังงานสะอาด เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน 13

  15. ภาคธุรกิจก็เสนอให้มีการสนับสนุนพลังงานสะอาด/การอนุรักษ์พลังงานอย่างจริงจังภาคธุรกิจก็เสนอให้มีการสนับสนุนพลังงานสะอาด/การอนุรักษ์พลังงานอย่างจริงจัง G-20 Business Summit 2011 • Allow free trade in environmental goods and services • – Eliminating tariff and non-tariff trade barriers will accelerate deployment of green technologies, increase economies of scale, lower prices, encourage competition and innovation, and result in faster job creation. • Achieve a robust price on carbon and enhance flexible offset mechanisms • – Market mechanisms and other forms of carbon pricing are the foundation on which a truly successful green economic transformation must be built. • End fossil fuel subsidies • – The G20 leaders have already committed to phasing out inefficient fossil fuel subsidies over the “medium term.” Faster and broader action is required to drive resource (especially energy) efficiency, given the economic and environmental benefits. • Dramatically scale up support for green technology development and innovation • – Finance for research, development and scale-up of clean energy, transport and sustainable, high-productivity agriculture is a critical factor in accelerating the aspired green economic transformation. 14

  16. หัวข้อนำเสนอ ความท้าทายด้านพลังงานของโลก ความท้าทายด้านพลังงานของไทย ความท้าทายด้านไฟฟ้าของไทย ทิศทางพลังงานไทย 15

  17. ความต้องการพลังงานเติบโตตามการพัฒนาเศรษฐกิจและส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมและขนส่งความต้องการพลังงานเติบโตตามการพัฒนาเศรษฐกิจและส่วนใหญ่อยู่ในภาคอุตสาหกรรมและขนส่ง ความต้องการพลังงานขั้นสุดท้าย (Final Energy Consumption) มูลค่าการใช้พลังงาน ล้านล้านบาท หน่วย : พันบาร์เรล/วัน เทียบเท่าน้ำมันดิบ GDP เติบโต 3.2% ต่อปี +7% ไฟฟ้า 1% +14% 1.9 1.8 น้ำมัน 99% 1,505 1,266 เติบโต 3.5% ต่อปี 5% 1.6 ภาคเกษตรกรรม น้ำมัน 17% พลังงานหมุนเวียน 39% 6% 22% ภาคที่อยู่อาศัย/ธุรกิจการค้า 21% ไฟฟ้า 44% ก๊าซฯ 6% 36% ภาคขนส่ง 37% น้ำมัน 94% ก๊าซฯ 9% น้ำมัน 10% ถ่านหิน 33% ภาคอุตสาหกรรม 37% 36% 2552 2553 2554 ไฟฟ้า 21% พลังงานหมุนเวียน 28% มูลค่าการใช้พลังงาน คิดเป็น % ของ GDP 17 18 ~18 แหล่งพลังงานหลัก • ภาคอุตสาหกรรม : ถ่านหิน และ พลังงานหมุนเวียน • ภาคขนส่ง : น้ำมัน • ภาคที่อยู่อาศัย/ธุรกิจการค้า : ไฟฟ้า และ พลังงานหมุนเวียน 16 ที่มา : พพ./สนพ.

  18. การจัดหาพลังงานส่วนใหญ่อยู่ในรูปน้ำมันและก๊าซธรรมชาติ โดยปัจจุบันก๊าซธรรมชาติเป็นแหล่งพลังงานหลัก การใช้พลังงานขั้นต้นเชิงพาณิชย์ (Commercial Primary Energy Consumption) ปริมาณและมูลค่าการนำเข้าพลังงาน มูลค่านำเข้าพลังงาน (ล้านล้านบาท) พันบาร์เรล/วันเทียบเท่าน้ำมันดิบ 1,858 166 389 พันบาร์เรล/วันเทียบเท่าน้ำมันดิบ LNG เติบโตเฉลี่ย 7%/ปี 3% 1,151 17% พลังน้ำ ไฟฟ้าพลังน้ำ การผลิตในประเทศรวม ก๊าซฯ สหภาพพม่า ถ่านหิน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ ก๊าซธรรมชาติ 44% 5% 12% 23% น้ำมัน 61% 36% น้ำมัน ต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานคิดเป็นมูลค่า ร้อยละ 65 หมายเหตุ ไม่รวมพลังงานหมุนเวียน 17 ที่มา : สนพ./กรมธุรกิจพลังงาน

  19. การจัดหาน้ำมันส่วนใหญ่มาจากการนำเข้าการจัดหาน้ำมันส่วนใหญ่มาจากการนำเข้า (Jan-Dec 2011) Supply Production Sales Domestic Import(80%) Imported Refined Petroleum Products54 KBD 848 KBD Crude/ Condensate 794 KBD RefinedProducts 919 KBD* Total Refining Capacity in Thailand: 1,099 KBD 787KBD (**) Crude/ Condensate 175KBD Indigenous(20%) PTT’s Associated Refineries : 905 KBD (TOP, PTTGC, SPRC, IRPC,BCP) RefinedProducts 198 KBD 207 KBD Export Other Refineries : 194 KBD (ESSO, RPC) Crude Export32KBD 221 KBD Source: PTIT Remark: (*)Refined product from refineries= 822 KBD, including domestic supply of LPGfrom GSPs and Petrochemical Plants = 97 KBD (**) Not included Inventory KBD = Thousand Barrels per day 18

  20. ขณะที่การจัดหาก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากแหล่งในประเทศขณะที่การจัดหาก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่มาจากแหล่งในประเทศ โดยมากนำมาผลิตไฟฟ้า (Jan-Dec 2011) Supply Production Sales Ethane/ Propane/ LPG/NGL Total 4,175 MMSCFD Indigenous (78%) 3,253 MMSCFD Petrochemical Feedstock(14%) 2,469 MMSCFD 867MMSCFD (21%) Industry Household Transportation (7%) LPG/NGL 6 GSPs Total Capacity 2,665 MMSCFD Methane 1,602 MMSCFD Import (22%) 922 MMSCFD Power (59%) Industry (14%) NGV (6%) Pipeline 784 MMSCFD 922 MMSCFD 19 Remark: MMSCFD = Million Cubic Feet @ Heating Value 1,000Btu/ft3

  21. แต่การจัดหาก๊าซธรรมชาติในประเทศกำลังเผชิญกับความเสี่ยงจากสัมปทานที่หมดอายุตาม พรบ. ปิโตรเลียม Oil and Gas production Discussions needed on concessions to maintain production Early resolution of concession expiry Production loss Mln boe Concession expiry not resolved Concession expiry ? Operators stop investing if there is no clarity on operatorship after concession expiry Equivalent to58,000MB/year Potential impact 640 Bn THB over 2015-2025 2010 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 2030 SOURCE: PTT(2011) Production profiles from expiring concessions – based only on known resources in these license areas

  22. ประเทศไทยเป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงานประเทศไทยเป็นประเทศที่ต้องพึ่งพาการนำเข้าพลังงาน Most ASEAN countries are net oil importer (2010) While few countries are gas importer (2010) ktoe ktoe 8 out of 10 ASEAN countries depend on imported crude Malaysia Myanmar Brunei Darussalam Indonesia Singapore Thailand Brunei Darussalam Malaysia Thailand & Singapore use imported gas from their neighboring countries but LNG will become alternative choice in the near future Laos Myanmar Cambodia Vietnam Thailand Singapore Indonesia Philippines 21 Source: Wood MacKenzie

  23. ความท้าทายอีกประการหนึ่งคือ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานของไทยอยู่ในระดับต่ำ ขณะที่ทรัพยากรพลังงานของประเทศมีจำกัด

  24. ปริมาณสำรองทรัพยากรพลังงานของไทยมีแนวโน้มลดลงปริมาณสำรองทรัพยากรพลังงานของไทยมีแนวโน้มลดลง Reserves Production/Year R/P Ratio (year) Gas (Tcf), Oil and Condensate (MMboe) Gas (Tcf), Oil and Condensate (MMboe) 46 32.5 30.7 28.5 35 28 P3 Gas 3P P2 2P 1P P1 35 906.3 805.9 353.7 P3 16 Oil 3P P2 7 2P P1 1P 37 720.2 27 710.2 687.7 22 P3 3P Condensate 2P P2 1P P1 23

  25. ขณะที่นโยบายการควบคุม/อุดหนุนราคาพลังงานบางชนิด ทำให้การใช้พลังงานเติบโตมากเกินปกติ ควบคุม/อุดหนุนราคา ล้านกิโลกรัม/วัน ล้านกิโลกรัม/วัน 8% 43% 10% Y-o-Y Y-o-Y ต่อปี 91% ต่อปี (4M) (4M) -ไม่รวมการจำหน่ายเป็นวัตถุดิบให้ปิโตรเคมี สะท้อนตลาดโลก พยุงราคา ล้านลิตร/ วัน ล้านลิตร/ วัน 9% 3% - 3% Y-o-Y น้ำมันเตา ต่อปี 1% Y-o-Y ต่อปี อากาศยาน เบนซิน (4M) (4M) รวมน้ำมันเบนซิน น้ำมันเบนซิน ออกเทน 91, เบนซิน ออกเทน 95, แก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 91, แก๊สโซฮอล์ อี10 ออกเทน 95, แก๊สโซฮอล์ อี20 และแก๊สโซฮอล์ อี85, น้ำมันก๊าด, อากาศยาน เจทเอ 1, 100/130 , เจพี 5, เจพี 8, น้ำมันเตา รวมการจำหน่ายน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว , น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว บี5, น้ำมันดีเซลปาล์ม, น้ำมันดีเซลพื้นฐานและดีเซลประมงชายฝั่ง 24

  26. ตัวอย่างนโยบายการควบคุม/อุดหนุนราคา LPG ส่งผลให้การใช้ LPGของไทยอยู่ในระดับสูง LPG household consumption VS subsidy 2010 per capita consumption in kg Size represent per-capita LPG consumption* ที่มา : Argus LPG world, published by Argus Media (London), 2Mar 2011

  27. ในปัจจุบันภาระเงินชดเชยส่วนใหญ่อยู่ที่การชดเชยเชื้อเพลิง(Fossil fuel)มากกว่าการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียน อัตรากองทุนและเงินชดเชย (บาท/ลิตร, บาท/กก.สำหรับ LPG/NGV) เบนซิน 95 เบนซิน 91 ดีเซล Gasohol91 LPG อุตสาหกรรม LPG ขนส่ง LPG ครัวเรือน Gasohol95 NGV E20 LPG จากโรงกลั่น E85 มูลค่ากองทุน/(ชดเชย) หน่วย: ล้านบาท/เดือน LPG นำเข้า LPG ครัวเรือน เบนซิน 95 เบนซิน 91 ดีเซล Gasohol91 LPG อุตสาหกรรม LPG ขนส่ง Gasohol95 E85 NGV E20 LPG จากโรงกลั่น ฐานะกองทุนสุทธิ -21,064 ล้านบาท +6,306 -4,361 LPG นำเข้า ภาระการสนับสนุนค่า adder*(ล้านบาท/เดือน) หมายเหตุ : อัตรากองทุนฯ ณ วันที่ 7 มิ.ย. 55 ฐานะกองทุนฯ ณ วันที่ 10 มิ.ย. 55 *ประมาณการโดยงานวิจัย”การวิเคราะห์ทางเลือกของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้า เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสาขาพลังงานไฟฟ้า” 2011 -700 ถึง -1000 26 กองทุนน้ำมันทำหน้าที่ Cross Subsidy

  28. หัวข้อนำเสนอ ความท้าทายด้านพลังงานของโลก ความท้าทายด้านพลังงานของไทย ความท้าทายด้านไฟฟ้าของไทย ทิศทางพลังงานไทย 27

  29. ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงหลักในการผลิตไฟฟ้า เพื่อรองรับความต้องการตามการเติบโตของเศรษฐกิจ GWh การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงต่างๆ เติบโตเฉลี่ย 7.7%/ปี นำเข้า/อื่นๆ พลังน้ำ น้ำมัน ถ่านหิน/ลิกไนต์ ก๊าซธรรมชาติ สัดส่วนการใช้เชื้อเพลิงผลิตไฟฟ้า 1986 1990 1995 2000 2005 2011 ก๊าซฯ 40% 40% 42% 62% 70% 67% ถ่านหิน/ลิกไนต์ 22% 25% 19% 19% 15% 20% 13% 23% 30% 10% 6% 1% น้ำมัน พลังน้ำ/อื่น 25% 12% 9% 9% 9% 12%

  30. แผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าชี้ว่าก๊าซธรรมชาติยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักในอนาคตแผนพัฒนากำลังผลิตไฟฟ้าชี้ว่าก๊าซธรรมชาติยังคงเป็นเชื้อเพลิงหลักในอนาคต ล้านหน่วย (Gwh) CAGR PDP (2012-20)5% 18% 16% 15% 14% พลังหมุนเวียน/อื่นๆ 14% 14% 14% ถ่านหิน/ลิกไนต์ 15% 23% 23% 21% 15% 22% 19% 23% 18% 18% 20% ก๊าซธรรมชาติ 68% 67% 64% 65% 68% 64% 63% 62% 61% Source: PDP 2010 (Rev. 3)

  31. อย่างไรก็ตาม ก๊าซธรรมชาติในประเทศกำลังลดลง และต้องจัดหา ก๊าซธรรมชาติเหลว (LNG) เพื่อรองรับการผลิตไฟฟ้า MMSCFD LNG ก๊าซฯจากพม่า(M9) ก๊าซฯจากพม่า (ยาดานาและเยตากุน) ก๊าซฯจากอ่าวไทย 30 ที่มา : ปตท./กระทรวงพลังงาน

  32. LNG มีราคาแพงกว่าก๊าซธรรมชาติในประเทศ/จากประเทศเพื่อนบ้านและจะส่งผลให้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของไทยสูงขึ้น Gas/LNG Prices ($/MMBTU) N/W Europe 11.05 NBP 8.52 DES Japan/Korea 15.65 Henry Hub 2.67* FOB ME 12.4 S/W Europe 11.45 FOB Australia 14.15 Source : LNG Platts Daily, as of 22 June 2012 * Gas from Henry hub to Asia will have additional liquefaction/transportation cost, which result in the price higher than 10 $/mmbtu (in line with regional LNG price) 31

  33. ขณะที่การผลิตไฟฟ้าโดยพลังงานทดแทนก็มีต้นทุนสูงขณะที่การผลิตไฟฟ้าโดยพลังงานทดแทนก็มีต้นทุนสูง โดยต้องมี Adder ชดเชยเพื่อให้เกิดการลงทุนในพลังงานหมุนเวียน ต้นทุนการผลิตไฟฟ้า* • ภาครัฐกำลังพิจารณาเปลี่ยนรูปแบบการจูงใจการลงทุนในพลังงานหมุนเวียนจาก Adder เป็น Feed-in tariff โดยคำนวณระยะคืนทุนในช่วงเวลาที่ยาวขึ้น เพื่อลดภาระ บาท/KwH Adder 6.5 -8.0 Adder 3.5 - 4.5 Adder 0.3 - 0.5 นิวเคลียร์ ถ่านหิน ชีวมวล ก๊าซฯ ลม แสงอาทิตย์ *ที่มา กฟผ. 2553 ไม่รวมค่าดูแลสิ่งแวดล้อม 32

  34. หัวข้อนำเสนอ ความท้าทายด้านพลังงานของโลก ความท้าทายด้านพลังงานของไทย ความท้าทายด้านไฟฟ้าของไทย ทิศทางพลังงานไทย 33

  35. ความท้าทายด้านพลังงานของประเทศไทยความท้าทายด้านพลังงานของประเทศไทย ความท้าทาย ผลกระทบ ทางรอด • พึ่งพาการนำเข้ามากขึ้น ความต้องการพลังงานเพิ่มตามการขยายตัวของเศรษฐกิจ • พึ่งพาการนำเข้ามากขึ้น • ต้องแสวงหาแหล่งพลังงาน • ความต้องการพลังงานมากขึ้น การใช้พลังงานขาด ประสิทธิภาพ/ไม่ประหยัด • ความต้องการพลังงานมากขึ้น • ขาดขีดความสามารถในการแข่งขัน การอุดหนุนราคาพลังงาน • ภาระชดเชยเพิ่มขึ้น • การใช้พลังงานขาดประสิทธิภาพ • ความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น • ภาวะชดเชยเพิ่มขึ้น • การใช้พลังงานขาดประสิทธิภาพ • ความต้องการพลังงานเพิ่มขึ้น • ลดการนำเข้าแต่ต้นทุนสูง • แข่งขันกับพลังงานที่มีการอุดหนุนราคาไม่ได้ การพัฒนาพลังงานทางเลือก • ลดการนำเข้าแต่ต้นทุนสูง • แข่งขันกับพลังงานที่มีการอุดหนุนราคาไม่ได้

  36. ทิศทางพลังงานควรไปทางไหน?ทิศทางพลังงานควรไปทางไหน? การสร้างความมั่นคงทางพลังงาน (Secure) ความต้องการใช้พลังงานมากขึ้น • การพัฒนาแหล่งปิโตรเลียมภายในประเทศ/ต่างประเทศ พลังงานเพื่อความเข้มแข็ง ทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน อุดหนุนราคาพลังงาน การพัฒนาพลังงานอย่างยั่งยืน (Sustainable) การเสริมสร้างความเข้มแข็งในระยะยาว (Strong) การใช้ขาดประสิทธิภาพ/บิดเบือน กลไกราคา พลังงานทางเลือกเกิดขึ้นยาก • การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ • การปรับโครงสร้างราคาพลังงานมุ่งสู่การใช้กลไกราคาตลาด • การเปลี่ยนจากการชดเชยราคา(universal subsidy) เป็นการชดเชยโดยตรงต่อผู้เดือดร้อน(Direct subsidy) • การพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางพลังงานชีวภาพ ปี 2554 ประเทศไทยมีการอุดหนุนราคาพลังงานทั้งจากภาครัฐและผู้ประกอบการ 160,000 ล้านบาท* • ใช้พลังงานทดแทน 25% ของการใช้พลังงานทั้งหมด ในปี 2564 • ลด Energy Intensity 25% ภายใน20 ปี เป้าหมายภาครัฐ *รวมภาระกองทุนน้ำมันฯ ภาระผู้ประกอบการ และภาระการลดภาษีสรรพสามิต

  37. ขอบคุณครับ 36

More Related