1 / 59

การบรรยาย กระบวนวิชา GB 718 อนาคตวิทยาสำหรับนักบริหา ร

การบรรยาย กระบวนวิชา GB 718 อนาคตวิทยาสำหรับนักบริหา ร. เรื่อง อุตสาหกรรมกับอนาคตของประเทศไทย สำหรับนักศึกษาโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสำหรับผู้บริหาร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วิทยากรโดย นายเกียรติพงศ์ น้อยใจบุญ รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

joy-short
Download Presentation

การบรรยาย กระบวนวิชา GB 718 อนาคตวิทยาสำหรับนักบริหา ร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยาย กระบวนวิชา GB 718 อนาคตวิทยาสำหรับนักบริหาร เรื่อง อุตสาหกรรมกับอนาคตของประเทศไทย สำหรับนักศึกษาโครงการบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสำหรับผู้บริหาร คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วิทยากรโดย นายเกียรติพงศ์ น้อยใจบุญ รองประธาน สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานกรรมการบริหาร บริษัท เอกรัฐวิศวกรรม จำกัด(มหาชน)

  2. แนวทางการบรรยาย 1. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม 2. ประวัติอุตสาหกรรม 3. ภาวะเศรษฐกิจ 4. ความหมายของขนาด ขอบเขต ประเภทของอุตสาหกรรม 5. องค์กรที่เกี่ยวข้อง 6. การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการ 7. การสร้างความเข้มแข็งให้อุตสาหกรรมไทย 8. อุปสรรคและปัญหา 9. สรุปอนาคตของอุตสาหกรรมไทย

  3. 1. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม สัดส่วนและการขยายตัว GDP ในภาคอุตสาหกรรม

  4. โครงสร้างการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ปี 2547

  5. ข้อมูลจากแผนภูมิวงกลมข้อมูลจากแผนภูมิวงกลม • มูลค่าในการส่งออกทั้งหมด 97,700 ล้านดอลล่าร์สหรัฐ • มูลค่าในการส่งออกภาคอุตสาหกรรม 84,000 ล้าน - • ดอลล่าร์สหรัฐ • คิดเป็น 86.8% ของการส่งออกรวม • อัตราการขยายตัว 23.4%

  6. จำนวนเครื่องจักร มากกว่า 100 เครื่อง 30-50 เครื่อง 20-25 เครื่อง 100-1000 รายการผลิตภัณฑ์ 10-15 ไม่จำกัด มากกว่าร้อยละ 25 สัดส่วนของที่ไม่ดี 50-2,000 ในล้าน 5 ในล้านส่วน 2. ประวัติอุตสาหกรรม แนวคิดการผลิตสมัยใหม่ โรงงานจะเป็นหน่วยงาน ฝีมือที่สามารถผลิตได้ตาม ความประสงค์ของลูกค้า จุดมุ่งเน้น Mass Production Flexible Production Mass Customized เริ่มศตวรรษ2515(1990-1970) 2515-2543(1970-2000) สหัสวรรษใหม่

  7. 3. ภาวะเศรษฐกิจ • เศรษฐกิจโลก อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่สำคัญ % 2545 2546 2547 2548fเศรษฐกิจโลก 3.0 3.9 4.6 3.8 สหรัฐอเมริกา 1.9 3.0 4.4 3.8 สหภาพยุโรป-15 1.0 0.7 2.3 1.5 สหภาพยุโรป-25 1.1 1.0 2.2 2.3 กลุ่มยูโร 0.8 0.5 2.0 1.9 เยอรมนี 0.1 -0.1 1.6 1.5 ญี่ปุ่น -0.3 1.4 2.6 1.0

  8. อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศที่สำคัญ (ต่อ) % 2545 2546 2547 2548fฮ่องกง 2.3 3.3 7.7 4.0 สิงคโปร์ 3.2 1.4 8.4 4.4 เกาหลีใต้ 7.0 3.1 4.6 4.0 ไต้หวัน 3.6 3.3 5.7 4.1 อินโดนีเซีย 4.4 4.9 5.1 5.0 ฟิลิปปินส์ 4.4 4.5 6.1 4.2 มาเลเซีย 4.1 5.2 7.1 6.3 ไทย 5.4 6.9 6.1 5.5-6.5 จีน 8.3 9.3 9.5 8.0-8.5 ที่มา - รายภาวะเศรษฐกิจไทยไตรมาส4 ปี 2547 และแนวโน้มปี 2548 สศช.

  9. ภาวะเศรษฐกิจไทย แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2548 รายการ 2546 2547-F 2548-F อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก(ร้อยละ) 3.9 5.0 4.3 อัตราการขยายตัวของการค้าโลก(ร้อยละ) 5.1 8.8 7.2 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย(ร้อยละ) 6.8 6.3 5.5 อัตราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม(ร้อยละ) 10.3 7.96 8.5 อัตราการขยายตัวของการส่งออกของไทย(ร้อยละ) 18.2 22.9 15.0 อัตราการขยายตัวของการนำเข้าของไทย(ร้อยละ) 17.4 27.3 19.0 สัดส่วนดุลการค้าต่อ GDP (ร้อยละ) 5.6 3.9 1.7 อัตราเงินเฟ้อ(ร้อยละ) 1.8 2.8 3.5 อัตราแลกเปลี่ยน(บาท/US$) 41.5 39.0 38.5

  10. ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรมดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม ปี 2545 ต.ค. พ.ย. ธ.ค. 115.4 105.5 106.2 2546 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. 102.7 101.9 99.5 95.9 98.5 103.7 102.5 117.5 112.6 108.7 112.5 110.2 2547 มค. กพ. มีค. เมย. พค. มิย. กค. สค. กย. ตค. พย. ธค. 99.5 105.7 106.3 98.2 101.8 97.1 98.9 101.1 102.2 104.4 106.6 106.1 ปี 2548 ม.ค. ก.พ. 104.8 96.9 มี.ค. 96.8

  11. ภาวะการณ์ แข่งขันของไทยในระดับโลก ตารางเปรียบเทียบขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศ ปี 2546(อันดับในเอเชีย) ปี 2547(อันดับในประเทศเอเชีย) ไต้หวัน 5(1) 4(1) สิงคโปร์ 6(2) 7(2) ญี่ปุ่น 11(3) 9(3) ฮ่องกง 24(5) 21(4) เกาหลีใต้ 18(4) 29(5) มาเลเซีย 29(6) 31(6) ไทย 32(7) 34(7) จอร์แดน 34(8) 37(8)

  12. ตารางเปรียบเทียบขีดความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ) ประเทศ ปี 2546(อันดับในเอเชีย) ปี 2547(อันดับในประเทศเอเชีย) จีน 44(9) 46(9) อินเดีย 56(10) 55(10) อินโดนีเซีย 72(14) 69(11) ศรีลังกา 68(13) 74(12) ฟิลิปปินส์ 66(12) 76(13) เวียตนาม 60(11) 77(14) ปากีสถาน 73(15) 91(15) บังคลาเทศ 98(16) 102(16)

  13. วัฒนธรรม และสังคม เศรษฐกิจและ การเงิน การเมืองโลกและ การปกครอง ค่านิยมและ ความเชื่อ มนุษย์ อำนาจ อารยธรรมและ โครงสร้างพื้นฐาน ศักยภาพ โลก วิทยาศาสตร์ สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี สถานการณ์โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไป

  14. อิตาลี เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไทย จีน เวียดนาม ภาคอุตสาหกรรมเผชิญปัญหาแรงกดดัน 2 ทาง ผู้นำ เทคโนโลยีและการออกแบบ ผู้ตาม การมีต้นทุนต่ำ การสร้างความแตกต่าง

  15. 4. ความหมายของขนาด ขอบเขต ประเภทอุตสาหกรรม การกำหนดขนาดของ SMEs ขนาด ประเภท มูลค่าทรัพย์สินถาวร จำนวนการจ้างงาน ขนาดกลาง - กิจการผลิต/บริการ 50-200 ล้านบาท 50-200 คน - กิจการค้าส่ง 50-100 ล้านบาท 25-50 คน - กิจการค้าปลีก 30-60 ล้านบาท 15-30 คน ขนาดย่อม - กิจการผลิต/บริการ ไม่เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 50 คน - กิจการค้าส่ง ไม่เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 25 คน - กิจการค้าปลีก ไม่เกิน 30 ล้านบาท ไม่เกิน15 คน ขนาดใหญ่ - กิจการผลิต/บริการ มากกว่า 200 ล้านบาท มากกว่า 200 คน - กิจการค้าส่ง มากกว่า 100 ล้านบาท มากกว่า 50 คน - กิจการค้าปลีก มากกว่า 60 ล้านบาท มากกว่า 30 คน

  16. การแบ่งเครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยการแบ่งเครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมของสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 1. เครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมอาหารและยา 2. เครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วน (ครอบคลุมอุตสาหกรรมชิ้นส่วนยานยนต์และอะไหล่ยานยนต์ รวมทั้ง อุตสาหกรรมสนับสนุน ได้แก่ เหล็ก พลาสติก ไฟฟ้าและอิเลคทรอนิคส์ ผลิตภัณฑ์ยาง เป็นต้น 3. เครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมแฟชั่น 4. เครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมไฟฟ้าอิเลคทรอนิคส์และเครื่องปรับอากาศ 5. เครือข่ายวิสากิจอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง 6. เครือข่ายวิสากิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมี 7. เครือข่ายวิสากิจอุตสาหกรรมเครื่องจักรกลและโลหะการ 8. เครือข่ายวิสากิจอุตสาหกรรมเยื่อและกระดาษ 9. เครือข่ายวิสาหกิจอุตสาหกรรมวัสดุและผลิตภัณฑ์สนับสนุน

  17. 5. องค์กรที่เกี่ยวข้อง องค์กรภาครัฐและเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจอุตสาหกรรม

  18. สามสถาบันที่ได้รับการยอมรับจากภาครัฐสามสถาบันที่ได้รับการยอมรับจากภาครัฐ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาคมธนาคารไทย ได้จัดประชุมร่วมกันเป็นคณะกรรมการ เรียกว่า คณะกรรมการร่วม 3 สถาบัน หรือ “ กกร ”

  19. องค์กรภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมองค์กรภาครัฐและเอกชนที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม องค์กรภาครัฐประกอบด้วย องค์กรภาคเอกชนประกอบด้วย • รัฐบาล • สำนักนายกรัฐมนตรี • กระทรวงอุตสาหกรรม • กระทรวงพาณิชย์ • กระทรวงการคลัง • กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม • กระทรวงการต่างประเทศ • กระทรวงศึกษาธิการ • กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร • อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับทางธุรกิจ • สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย • หอการค้าไทย • สมาคมธนาคารไทย • สมาคมการค้าวิชาชีพต่าง ๆ • ฯลฯ

  20. สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรม 33 กลุ่ม สภาอุตสาหกรรมจังหวัด 67 จังหวัด

  21. 6. การเตรียมความพร้อมของผู้ประกอบการ • เทคโนโลยี • เงินทุน • บุคลากร • การจัดการ • ตลาดไร้พรหมแดน

  22. 7. การสร้างความเข้มแข็งให้อุตสาหกรรมไทย การพัฒนาอุตสาหกรรมในมุมมองภาคเอกชน 1. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม 2. สนับสนุนอุตสาหกรรมส่วนภูมิภาคและ SME 3. ไทยเป็นผู้นำด้านเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและขยายตัวสู่ระดับโลก 4. บูรณาการอุตสาหกรมของประเทศในแนวทาง CLUSTER AND VALUE CHAIN 5. การสนับสนุนจากภาครัฐสู่ภาคอุตสาหกรรม

  23. 1. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันอุตสาหกรรม ระยะสั้นและเร่งด่วน • 1. พัฒนาและผลิตสินค้าเพื่อเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น(Valu Added of • Products) • 2. ส่งเสริมให้มีการใช้ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศ ภายใต้หลักการ“นิยมไทย ” • 3. คัดเลือก Products เพื่อส่งเสริมให้แข่งขันได้ในตลาดในประเทศ ตลาดเอเชีย • และตลาดโลก • 4. มีการบริหารจัดการว่าด้วยการจัดซื้อ และการเลือกใช้วัตถุดิบจากทั้งใน • และต่างประเทศ • 5. ใช้พลังงานด้านอุตสาหกรรมให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ • 6. ส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศและให้ทุนการศึกษาแก่ • พนักงานทุกระดับ

  24. 1. เสริมสร้างนวัตกรรมใหม่ ในการผลิตสินค้า วัตถุดิบ และกระบวนการผลิตโดยส่งเสริม และสนับสนุนการวิจัยพัฒนา2 . เพิ่มขีดความสามารถ การบริหารจัดการของ ผู้ประกอบการในเรื่องการผลิต การตลาด การจัดการบุคลากร และการบริหารงาน ระยะต่อเนื่อง

  25. การเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐและเอกชนการเชื่อมโยงระหว่างภาครัฐและเอกชน • 1. แก้ไขปัญหา NPLs เพื่อให้ธุรกิจสามารถดำเนินกิจการผลิตได้ต่อไปโดยเร็ว • 2. เร่งรัดและลดขั้นตอนการส่งออกโดยทำให้มีประสิทธิภาพเทียบเท่าหรือดีกว่า • ประเทศคู่แข่งในภูมิภาค • 3. มีหน่วยงานรวบรวมและให้บริการข้อมูลอุตสาหกรรมที่เชื่อได้รวดเร็ว • และทันเหตุการณ์ • 4. สนับสนุนให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทันสมัย(ICT) ในการบริหาร • จัดการฐานข้อมูลและองค์ความรู้ทั่วประเทศ • 5. ร่วมมือกัน เสริมสร้างการวิจัยและพัฒนา การออกแบบ และการประดิษฐ์ • การพัฒนาเทคโนโลยีในเชิงพาณิชย์ อีกทั้งผลิตบุคลากรด้านวิจัยให้พอเพียง

  26. (ต่อ) • 6. ร่วมกันกำหนดเงื่อนไขที่เหมาะสมให้บรรษัทข้ามชาติ • ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่อุตสาหกรรมภายในประเทศ • 7. สนับสนุนการควบรวมกิจการในบางอุตสาหกรรม เพื่อ • เพิ่มขีดความสามารถและเกิด Economy of Scale

  27. 2. สนับสนุนอุตสาหกรรมภูมิภาคและ SMEs • ระยะสั้นและเร่งด่วน • กระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศและภูมิภาค ให้ขยายตัว ด้วยการปฏิบัติที่จริงจังภายใต้นโยบาย • นิยมไทย ใช้ของไทย • ระยะต่อเนื่อง • กำหนดกลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมรายภูมิภาค และทิศทางการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ • การเชื่อมโยงระหว่างเอกชนและรัฐบาล • 1. การสร้างความสมดุลระหว่างการพัฒนาอุตสาหกรรม และการรักษาสิ่งแวดล้อม • 2. การร่วมผลักดันโครงการ ACMECS

  28. 3. ไทยเป็นผู้นำเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและขยายตัวสู่ระดับโลก ระยะสั้นและเร่งด่วน ประกาศและแสดงเจตนารมณ์ การเป็นผู้นำด้าน เศรษฐกิจของไทย ในเขตการค้าภูมิภาคอาเซียนในสินค้า เช่น รถยนต์ และชิ้นส่วนยานยนต์ ปูนซิเมนต์ ตู้เย็น ตู้แช่และส่วนประกอบ หลอดภาพ TV สิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม เครื่องปรับอากาศและส่วนประกอบ(ชิ้นส่วน) Home appliance (หม้อหุงข้าว กระติกน้ำร้อน/พัดลม) หม้อแปลงไฟฟ้า สุขภัณฑ์ Tableware ลูกถ้วยไฟฟ้า อิฐทนไฟ วัสดุทนไฟ เฟอร์นิเจอร์ไม้-เหล็ก (ยกเว้นไม้ยางพารา) อัญมณีและเครื่องประดับ ไก่แช่แข็ง กุ้ง สับปะรด น้ำตาล ฯลฯ และ กระดาษคราฟท์

  29. 3. ไทยเป็นผู้นำเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและขยายตัวสู่ระดับโลก ระยะต่อเนื่อง สนับสนุนให้เอกชนไปสร้างเขื่อนผลิตไฟฟ้า ทางรถไฟ และการ คมนาคมทางน้ำ ในอินโดจีน พม่า และจีนตอนใต้ สนับสนุนการส่งออกผลิตภัณฑ์เกษตรและอาหารแปรรูป ให้ขยาย ตัวสู่ตลาดภูมิภาค ASEAN ส่งเสริมและขยายตลาดการค้าในระดับภูมิภาคไปสู่ตลาดโลก

  30. 3. ไทยเป็นผู้นำเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและขยายตัวสู่ระดับโลก • การเชื่อมโยงระหว่างเอกชนและรัฐบาล • สนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่ใช้ วัตถุดิบภายในประเทศ • สนับสนุนการเปิดตลาด ขยายการค้า และการลงทุนในโครงการความร่วมมือ ACMECS และตลาดการค้าใหม่ • ขยายตลาดให้กับอุตสาหกรรม ที่มีศักยภาพในการส่งออก โดยผ่านการเจรจาเพื่อทำความตกลงทางการค้าทั้งแบบทวิภาคี และ • พหุพาคี (Bilateral and Multilateral Free Trade Agreement )

  31. 4. บูรณาการอุตสาหกรรมของประเทศในแนวทาง Cluster and Value Chain • ระยะสั้นและเร่งด่วน • สนับสนุนให้มีการค้าระหว่างกลุ่มอุตสาหกรรมในประเทศ • ร่วมกันใช้บริการขนส่งสินค้าและ Logistic Facilities เพื่อเพิ่มประ สิทธิภาพการขนส่งอีกทั้งลดค่าใช้จ่าย • ระยะต่อเนื่อง • สนับสนุนให้ตั้งโรงงานอุตสาหกรรมต้นน้ำและอุตสาหกรรมต่อ เนื่องในนิคมอุตสาหกรรมที่เดียวกัน (แบบ Value Chain) • การเชื่อมโยงระหว่างเอกชนและรัฐบาล • ร่วมกำหนดประเภทอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องให้ตั้งอยุ่ในพื้นที่ • เดียวกัน (แบบ Cluster)

  32. 5. การสนับสนุนจากภาครัฐสู่ภาคอุตสาหกรรม • ระยะสั้นและเร่งด่วน • สนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการอุตสาหกรรม โดยมี ส.อ.ท. เป็นแกนกลาง • ปรับโครงสร้างอากรขาเข้าวัตถิบให้ต่ำกว่าอากรขาเข้าของสินค้าสินสำเร็จรูป โดยลด และ/หรือ ยกเว้นอากร • ปรับปรุงภาษี และกฎระเบียบให้เอื้ออำนวยต่อการแข่งขันของอุตสาหกรรมไทยในตลาดโลก • มีหน่วยงานประเภท One Stop Service เพื่อลดขั้นตอน และเวลา ในการติดต่อกับทางราชการ

  33. (ต่อ) • ระยะสั้นและเร่งด่วน • สนับสนุนการปรับโครงสร้างธุรกิจ และผ่อนปรนเงื่อนไขการให้สินเชื่อแก่ภาคอุตสาหกรรม ทำให้ฟื้นตัวได้โดยเร็ว • ใช้นโยบายการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recylce) ในอุตสาหกรรม และรักษาสิ่งแวดล้อม • ปรับปรุงประสิทธิภาพของสาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า น้ำ โทรศัพท์ และระบบการสื่อสารทางอิเลคทรอนิคส์ โดยคิดค่าบริการตามสภาพความเป็นจริงและแข่งขันได้

  34. 5. การสนับสนุนจากภาครัฐสู่ภาคอุตสาหกรรม • ระยะต่อเนื่อง • ส่งเสริมการขนส่งสินค้าโดยใช้ Multi – Modal Transportation โดยสร้างส่วนเชื่อมต่อระหว่างท่าเรือ สถานีขนส่งสินค้า (Truck Terminal) กับเครือข่ายทางรถไฟ • สร้างระบบขนส่งทางแม่น้ำ และเพิ่มระบบลำเลียงริมทะเล ให้เป็นอีกทางเลือก • มีท่าเรือน้ำลึกฝั่งทะเลอันดามัน เพื่อส่งสินค้าไปยังประเทศต่าง ๆ ในเขต • เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และยุโรปโดยตรง

  35. 5. การสนับสนุนจากภาครัฐสู่ภาคอุตสาหกรรม • การเชื่อมโยงระหว่างเอกชนและรัฐบาล • เชื่อมโยงและจัดหาตลาดผู้ซื้อ ทั้งในและต่างประเทศ มารองรับการเพิ่ม ปริมาณการผลิตสินค้าอุตสาหกรรม • ศึกษากฎระเบียบและมาตรการกีดกันทางการค้า ที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Measure : NTMs) เพื่อนำมาใช้เป็นมาตรการตอบโต้ของประเทศ โดยไม่ ขัดต่อหลักเกณฑ์ทางการค้าระหว่างประเทศของ ASEAN, APEC, และ WTO • รัฐและเอกชนร่วมมือกันเจรจา กับประเทศคู่ค้า เพื่อยุติข้อขัดแย้งทาง • การค้า ก่อนที่มาตรการกีดกันฯ จะถูกนำมาใช้

  36. แผนยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมจัดทำโดยแผนยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมจัดทำโดย กระทรวงอุตสาหกรรม

  37. การสร้างสังคมผู้ประกอบการการสร้างสังคมผู้ประกอบการ การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมของประเทศ ระยะ 4 ปี(2548-2551) เพื่อให้อุตสาหกรรมเติบโตตามเป้าหมาย อก. จึงมุ่งผลักดันยุทธศาสตร์ใน 4 ปัจจัยคือ โครงสร้างอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการ ปัจจัยสนับสนุน รวมทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อม ต่างประเทศ ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรม ในประเทศ • Value creation • แข่งขันได้ • พร้อม • ตอบสนอง ต่อตลาดโลก การบริหารจัดการ ทรัพยากร และ สวล.อุตสาหกรรม • GDP • เทคโนโลยี • ความสมดุล • FTA การสร้างปัจจัย แวดล้อมที่เอื้อต่อธุรกิจ 3.3 ล้านล้านบาท ภายในปี 2551 (ขยายตัว 6% ต่อปี)

  38. ยุทธศาสตร์ที่ 1 การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ผลักดันให้อุตสาหกรรมไทยเป็นกลไกสำคัญทีสนับสนุนการขยายตัวของ GDP จึงต้องปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมไทยให้ที่มีอยู่เดิมเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างมูลค่าจากความรู้โดยจำแนกเป็น 4 กลุ่ม Value-creation Local content OBM Hi-tech ยานยนต์ แฟชั่น ครัวไทยสู่โลก ซอฟท์แวร์ 1. กลุ่มอุตสาหกรรมตาม นโยบายรัฐ ยกระดับให้เข้มแข็ง (Strengthen) แปรรูปเกษตร การพิมพ์ เครื่องจักรกล ปิโตรเคมี อิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้า 2. กลุ่มอุตสาหกรรมเดิม ที่มีศักยภาพ 3. กลุ่มสนับสนุนที่มี ความเชื่อมโยงสูง แม่พิมพ์ เหล็กโลหะการ ลงทุนสำหรับระยะยาว (Invest) พลังงานทดแทนชีวภาพ เคมีชีวภาพ 4. กลุ่มอุตสาหกรรมสำหรับอนาคต • Cluster Development • Productivity • Innovation

  39. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม เพื่อสร้างความสามารถในการแข่งขันให้กับอุตสาหกรรมไทยเพื่อรองรับกับสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงไป กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน - ส่งเสริมและกำหนดมาตรการผลักดัน อุตสาหกรรมเป้าหมายทั้งระบบโซ่อุปทาน - ส่งเสริมเทคโนโลยีการผลิตและปรับเปลี่ยนเครื่องจักรใหม่ 1. 1.1 พัฒนาอุตสาหกรรมทั้งระบบโซ่อุปทานและเครือข่ายวิสาหกิจ ยกระดับสมรรถนะของกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายให้ แข่งขันได้ 1.2 พัฒนาศักยภาพการผลิตและผลิตภัณฑ์ - ส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพการผลิต - ส่งเสริมการพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์ - พัฒนาและสร้างตราสินค้า - ยกระดับคุณภาพมาตรฐาน - กำหนดกลุ่มเป้าหมายเพื่อส่งเสริมกลุ่มอุตสาหกรรมที่เชื่อมโยงกับประเทศ ECS - ส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ 1.3 พัฒนาอุตสาหกรรมภูมิภาคและส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศ

  40. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม (ต่อ) กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 2. สร้าง อุตสาหกรรม เพื่ออนาคต 2.1 สร้างอุตสาหกรรมอนาคตที่ใช้พื้นฐานจากศักยภาพของไทย 2.2 สร้างขีดความสามารถทางเทคโนโลยีในสถานประกอบการ 2.3 ลงทุนวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีเป้าหมายทั้งในภาครัฐและเอกชนในรูปแบบเครือข่าย 2.4 สนับสนุนปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - การพัฒนาปัจจัยโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการสร้างเครือข่ายการวิจัยพัฒนาร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน - การสร้างมาตรการสิ่งจูงใจในการลงทุนในอุตสาหกรรมที่มีเทคโนโลยีสูง - การพัฒนานวัตกรรมรองรับตลาดเฉพาะและต่อยอดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น - พัฒนากองทุนนวัตกรรม และการร่วมทุน

  41. สร้างบรรยากาศ อุตสาหกรรม ผู้ประกอบการ ลดต้นทุน และข้อจำกัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจ ผลักดันและประสานให้เกิดการพัฒนาปัจจัยสนับสนุนต่างๆ ที่เอื้อต่อการ ประกอบการของอุตสาหกรรม และช่วยรักษาอัตราขยายตัวของอุตสาหกรรม ให้ต่อเนื่อง มหภาค • กฎระเบียบ และข้อบังคับของรัฐ • สิทธิประโยชน์จูงใจ • โครงสร้างภาษี ปัจจัยสนับสนุน • โครงสร้างพื้นฐาน • - น้ำเพื่ออุตสาหกรรม - ไฟฟ้า • - ลอจิสติกส์ - นิคม/เขต อก. • - S&Tอุตสาหกรรม • - เทคโนโลยีสารสนเทศ • HRภาคอุตสาหกรรม • ข้อมูลข่าวสารเทคโนโลยีการผลิต • เงินทุน

  42. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจ เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมที่สะดวก รวดเร็ว ส่งเสริมการสร้างและพัฒนาอุตสาหกรรม รวมทั้งการให้โอกาสธุรกิจอุตสาหกรรมใช้ความสามารถได้อย่างเต็มศักยภาพ กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 1. สร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการ ทำธุรกิจ - ศึกษากฎหมายที่เป็นอุปสรรคสำหรับธุรกิจภาคเอกชน - ผลักดันให้เกิดการแก้กฎหมายและบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสร้างบรรยากาศการแข่งขันที่เป็นธรรม - ปรับมาตรการส่งเสริมการลงทุนให้สอดคล้องกับการพัฒนา อุตสาหกรรมเป้าหมาย - ปรับปรุงระบบภาษีให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยพิจารณาความเป็นธรรมของอุตสาหกรรมตลอด Supply Chain 1.1 ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการประกอบธุรกิจ 1.2 ปรับสิทธิประโยชน์จูงใจ ให้สอดคล้องกับอุตสาหกรรม เป้าหมาย 1.3 ปรับปรุงกฎหมาย/กฎระเบียบให้เอื้อต่อการ ประกอบการอุตสาหกรรม

  43. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจ (ต่อ) กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 2. ลดต้นทุนและข้อจำกัด ของการประกอบธุรกิจ - ศึกษาการใช้น้ำอย่างเป็นระบบ - มีการบริหารจัดการน้ำอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมาย 2.1 สร้างและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนให้เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ - สร้าง Awareness - ส่งเสริมการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการบริหาร Supply Chainของภาคอุตสาหกรรม - ส่งเสริมให้เกิด Logistics service providerให้กับ SMEs 1) น้ำเพื่ออุตสาหกรรม 2) ลอจิสติกส์ - ส่งเสริมการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมเฉพาะด้าน - ส่งเสริมและสนับสนุนให้โรงงานไปตั้งในเขตอุตสาหกรรม 3) เขตและนิคมอุตสาหกรรม

  44. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจ (ต่อ) กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน • ยกระดับห้องปฏิบัติการตรวจสอบ/รับรองสินค้า • พัฒนาความรู้นาโนเทควัสดุศาสตร์ 2. ลดต้นทุนและข้อจำกัด ของการประกอบธุรกิจ 4) S&T - จัดทำแผนบูรณาการการพัฒนากำลังคนภาคอุตสาหกรรม - สร้างความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษาและภาคธุรกิจในการพัฒนาและเตรียมความพร้อมบุคลากรสำหรับอุตสาหกรรม - เร่งพัฒนาทักษะแรงงานที่มีอยู่ในภาคอุตสาหกรรม - ส่งเสริมและมีส่วนร่วมในการกำหนดหลักสูตรการศึกษาและ ฝึกอบรม 2.2 พัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรมให้ เพียงพอทั้งปริมาณและคุณภาพ

  45. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้เอื้อต่อการทำธุรกิจ (ต่อ) กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 2. ลดต้นทุนและข้อจำกัด ของการประกอบธุรกิจ - จัดให้มีกลไกหรือบริการของรัฐเพื่อช่วยเหลือภาคเอกชนเข้าถึงเทคโนโลยีการผลิตอย่างสะดวกและรวดเร็ว - ให้มีระบบจูงใจที่เหมาะสมให้ภาคธุรกิจลงทุนปรับเทคโนโลยีการผลิต 2.3 ส่งเสริมพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

  46. ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างสังคมผู้ประกอบการ สร้างสังคมผู้ประกอบการ เพื่อเปิดโอกาสและส่งเสริมให้ประชาชนมีความเป็นผู้ประกอบการ โดยมุ่งให้ SMEs OTOP เป็นรากฐานสำหรับการขยายตัวของอุตสาหกรรม การเริ่มต้นธุรกิจใหม่ ทั่วไป และเป้าหมาย การผลิตเชิงพาณิชย์ ตลาด รูปแบบการบริโภค วิสาหกิจ (Enterprise) สังคมผู้ประกอบการ  การพัฒนาขีดความสามารถ SMEs อุตสาหกรรม ผปก.ใหม่ วิสาหกิจขนาด กลางและย่อม การพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ ผปก.เดิม วิสาหกิจชุมชน OTOP ผู้ประกอบการ (Entrepreneur) แรงงาน/ ลูกจ้าง ประชาชน เกษตรกร

  47. ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการ ประกอบด้วย 7 แนวทางสำหรับการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ ทั้งส่วน SMEsเดิม และส่วนสร้างใหม่ สังคมผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม เป้าหมาย ธุรกิจทั่วไป เพิ่มความสามารถ แข่งขันผู้ประกอบการเดิม การสร้าง ผู้ประกอบการใหม่ เพิ่มผลิตภาพ พัฒนานวัตกรรม สร้างแรงจูงใจและจิตสำนึก สร้างโอกาสและ เพิ่มศักยภาพความเป็น ผปก. สร้างบรรยากาศการเริ่มธุรกิจ ส่งเสริมกลุ่มเป้าหมาย เข้าถึงบริการรัฐ

  48. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการกลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการ กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 1. - การสร้างความตระหนักในการเพิ่ม ผลิตภาพ - การพัฒนาบุคลากร SMEs -การพัฒนาผู้ประกอบการเดิม - การยกระดับเทคโนโลยี คุณภาพ มาตรฐาน และการบริหารจัดการ ของ SMEs 1.1 เพิ่มผลิตภาพของ SMEs 1.2 พัฒนานวัตกรรม การผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มสินค้า 1.3 ส่งเสริม SMEsในกลุ่มเป้าหมาย การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ ผู้ประกอบการเดิม - การส่งเสริมการใช้ R&D&IP เพื่อการผลิตเชิงพาณิชย์ - การส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ - การส่งเสริม SMEsกลุ่มยุทธศาสตร์ - การพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนและความเชื่อมโยงกับ LEs - การส่งเสริม SMEs สาขายุทธศาสตร์ในแต่ละกลุ่มพื้นที่

  49. กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการ(ต่อ)กลยุทธ์ภายใต้ยุทธศาสตร์การสร้างสังคมผู้ประกอบการ(ต่อ) กลยุทธ์ แนวทาง แผนงาน 1. การเพิ่มขีดความ สามารถในการแข่งขัน ผู้ประกอบการเดิม (ต่อ) 1.4 สนับสนุน SMEsให้เข้าถึงแหล่งบริการอย่างทั่วถึง - การจัดทำฐานข้อมูลการให้บริการและเผยแพร่อย่างเพียงพอและทั่วถึง - การพัฒนาศักยภาพหน่วยและระบบให้บริการ SMEs - การพัฒนาผู้ให้บริการ SMEs 2. 2.1 สร้างแรงจูงใจและปลูกจิตสำนึก 2.2 สร้างบรรยากาศการเริ่มต้นธุรกิจ 2.3 เพิ่มศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการที่ดี - การพัฒนาระบบและต้นแบบการประกอบธุรกิจ - การกระตุ้นความสนใจในการเป็นผู้ประกอบการ การพัฒนา ผู้ประกอบการใหม่ - การพัฒนาศูนย์บริการผู้ประกอบการใหม่ - การสนับสนุนการเงินในการเริ่มต้นธุรกิจ - การพัฒนาฐานข้อมูลความรู้ด้านการดำเนินธุรกิจ/ คู่มือการประกอบธุรกิจ - การสร้างโอกาสทางการตลาดและการเชื่อมโยงธุรกิจ - การพัฒนาระบบบ่มเพาะ - การเสริมสร้างความรู้และทักษะของการเป็นผู้ประกอบการ

More Related