40 likes | 207 Views
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้. เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น.
E N D
อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม อุตสาหกรรมไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ อุตสาหกรรมยางและพลาสติก อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดระนอง ชุมพร และสุราษฎร์ธานี จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ ศูนย์วิทยุชุมชน อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) • ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ การบริหารจัดการกำลังคน • เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดระนอง สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 98 แห่ง (สปช. 89 แห่ง และ สศ. 9แห่ง) สังกัด เอกชน 12 แห่ง สังกัด กศน. 5 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.ระนอง 2. วษท.ระนอง 3. วก.กระบุรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า และ • มหาสมุทรอินเดีย • มีความสำคัญในฐานะเป็นเมืองดีบุก • เป็นเมืองชายแดน และศูนย์รวมของการไปมา • หาสู่และซื้อขายสินค้าระหว่างไทยกับพม่า • (ด่านชายแดนระนอง) • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 71,643 บาท ต่อปี • (ลำดับที่ 9 ของภาค ลำดับที่ 28 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 41.42 % รองลงมาสาขาการขายส่ง • การขายปลีก มีมูลค่าการผลิต 15.05 % • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ซาลาเปาทับหลี มะม่วงหิมพานต์ • ประชากร • จำนวนประชากร 178,122 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 12,539 คน หรือ 11.92 % • จำนวนผู้ว่างงาน 1,324คน เป็นชาย 743 คน เป็นหญิง 581 คน อัตราการว่างงาน 0.70 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 31,765 คนหรือ 32.7% ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 17,584 คน หรือ 18.09% และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด14,025คน หรือ 14.43 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) เพาะเห็ดฟางจากทะลายปาล์ม 2) ทำซาลาเปา 3) ทำไม้กวาดดอกอ้อ • 4) เลี้ยงปลาน้ำจืด 5) เพาะชำต้นไม้ 6) แปรรูปน้ำพริกปูแสม • 7) เพาะเห็ดด้วยขี้เลื่อย 8) ผ้าบาติก 9) เย็บจากมุงหลังคา 10) กะปิกุ้ง (ที่มา อศจ.ระนอง) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 32,648 คน หรือ 33.6% ทำงานส่วนตัว 32,077 คน หรือ 33% ช่วยธุรกิจครัวเรือน15,255 คน หรือ 15.7% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 5,534 คน หรือ 5.7 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 67,021 คน หรือ 68.94% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,189 คน หรือ 3.3% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 65 แห่ง มีการจ้างงาน 3,346 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดชุมพร สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 293 แห่ง (สปช. 268 แห่ง และ สศ. 25 แห่ง) สังกัด เอกชน 32 แห่ง สังกัด กศน. 9 แห่ง สังกัด สกอ. – แห่ง สาธิต 2 แห่ง สังกัด สอศ. 6 แห่ง 1. วท.ชุมพร 2. วษท.ชุมพร 3. วป.ชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ 4. วช.ชุมพร 5. วก.หลังสวน 6. วก.ท่าแซะ ) • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศตะวันออก เขตติดต่อกับทะเลอ่าวไทย • มีลักษะเป็นที่ราบลุ่มตามแนวชายฝั่งทะเลอ่าวไทย • ทิศตะวันตก เขตติดต่อกับประเทศสหภาพพม่า • เป็นประตูสู่ภาคใต้ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 73,463 บาท ต่อปี • (ลำดับที่ 8 ของภาค ลำดับ 24 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 44.87 % สาขาการขายส่ง การ • ขายปลีก 12.45 % • พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัด • มะพร้าว ยางพารา กาแฟ ปาล์มน้ำมัน ไม้ผล • และการประมง • ประชากร • จำนวนประชากร 475,763 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 36,045 คน หรือ 11.57 % • จำนวนผู้ว่างงาน 3,736คน เป็นชาย 787 คน เป็นหญิง 2,949 คน อัตราการว่างงาน • 1.33 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 137,544 คนหรือ 49.68% ลำดับรองลงมาคือพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 42,648 คน หรือ 15.40% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ซ่อมรถจักรยานยนต์ 2) ธุรกิจรับซื้อยางพารา 3) งานสีและตัวถังรถยนต์ • 4) ซ่อมรถยนต์ 5) ผลิตปุ๋ยชีวภาพ 6) ธุรกิจร้านอาหาร • 7) แปรรูปผลไม้และจัดทำบรรจุภัณฑ์ 8) เพาะเลี้ยงพันธุ์กุ้งปลา • 9) ธุรกิจลานรับซื้อปาล์ม 10) แปรรูปกล้วยเล็บมือนาง (ที่มา อศจ.ชุมพร) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 106,711 คน หรือ 38.55% ลำดับรองลงมา ธุรกิจครัวเรือน 72,479 คน หรือ 26.18% และลูกจ้างเอกชน 66,506 คน หรือ 24.02 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 1,540 คน หรือ 0.6 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา197,131 คน หรือ 71.2% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 15,198 คน หรือ 5.5 % สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 96 แห่ง มีการจ้างงาน 4,396 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
จังหวัดสุราษฎร์ธานี สถานศึกษา สังกัด สพฐ. 566 แห่ง (สปช. 518 แห่ง และ สศ. 48 แห่ง) สังกัด เอกชน 107 แห่ง สังกัด กศน. 19 แห่ง สังกัด สกอ. 2 แห่ง สังกัด สอศ. 7 แห่ง 1. วท.สุราษฎร์ธานี 2. วท.สุราษฎร์ธานีแห่งที่ 2 3. วอศ.สุราษฎร์ธานี 4. วษท.สุราษฎร์ธานี 5. วช.สุราษฎร์ธานี 6. วก.ไชยา 7. วก.เวียงสระ • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • มีพื้นที่มากที่สุดของภาคใต้ และมากเป็นอันดับ 6 • ของประเทศไทย • ตั้งอยู่บนชายฝั่งทะเลด้านตะวันออกทางภาคใต้ของ • ประเทศด้านทะเลอ่าวไทย • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 97,936 บาท ต่อปี (ลำดับ 3 • ของภาค ลำดับ 16 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 34.51 % รองลงมาสาขาการผลิต • อุตสาหกรรม 19.68% • อาชีพที่สำคัญของจังหวัด • สวนยางพารา ผลไม้ การประมงทะเล • ประชากร • จำนวนประชากร 947,349 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 75,314 คน หรือ 12.61 % • จำนวนผู้ว่างงาน 7,341คน เป็นชาย 3,432คน เป็นหญิง 3,909คน อัตราการว่างงาน 0.7% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 262,845 คนหรือ 47.1% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพพนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 90,649 คน หรือ 16.2% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ทำสวนยาง 2) ทำสวนปาล์ม 3) ทำสวนผลไม้ 4) พนักงานบริการ/ท่องเที่ยว • 5) ช่างซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 6) ช่างซ่อมเครื่องยนต์ • 7) ช่างเสริมสวย 8) ธุรกิจค้าปลีกยางแผ่น เศษยาง 9) ธุรกิจค้าปลีกผลไม้ • 10) การทำปุ๋ยน้ำชีวภาพและปุ๋ยหมักชีวภาพ (ที่มา อศจ.สุราษฎร์ธานี) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 189,799 คน หรือ 34.% รองลงมาทำงานส่วนตัว 177,083 คน หรือ 31.66 % ช่วยธุรกิจครัวเรือน 122,551 หรือ 22 % • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง10,319 คน หรือ 1.83 % โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 386,905 คน หรือ 68.76% • เป็นที่น่าสังเกตว่าแรงงานอาชีวะมีเพียง 17,792 คน หรือ 3.2 % สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมผลิตไม้และผลิตภัณฑ์จากไม้ มีสถานประกอบการ 140 แห่ง มีการจ้างงาน 6,978 คน รองลงมาอุตสาหกรรมการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 116 แห่ง มีการจ้างงาน 6,853 คน และอุตสาหกรรมยางและพลาสติก มีสถานประกอบการ 65 แห่ง มีการจ้างงาน 5,343 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา