120 likes | 236 Views
พระราชดำริ
E N D
พระราชดำริ เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2546 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำเนินทรงเยี่ยมราษฎรกลุ่มเลี้ยงปลานราพัฒนา ตำบลบางนาค อำเภอเมือง ซึ่งราษฎรกลุ่มดังกล่าวต้องการที่จะให้เจาะท่อเพื่อให้น้ำจากทะเลเข้ามาเติมในคลองโคกเคียน เพื่อให้คุณภาพน้ำมีความเหมาะสมสำหรับเลี้ยงปลา จึงได้พระราชทานพระราชกระแสให้ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมในการจะเจาะท่อเพื่อนำน้ำจากทะเลเข้ามาเติมในคลองโคกเคียน พระราชดำริ การแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎร ที่ใช้ประโยชน์จากคลองโคกเคียน
การดำเนินการสนองพระราชดำริการดำเนินการสนองพระราชดำริ กรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชย์นาวี ได้ตรวจสอบพื้นที่และรับฟังความคิดเห็น และได้พิจารณาเห็นว่าแนวทางที่สามารถดำเนินการได้โดยไม่มีผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ คือ การขุดลอกคลอง เพราะจะทำให้การไหลเวียนและการผสมของน้ำตามวัฏจักรธรรมชาติ โดยได้ดำเนินการขุดลอกคลองโคกเคียนเป็นระยะทาง 1.0 กม.เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2547 สามารถบรรเทาความเดือดร้อนของกลุ่มประมงเลี้ยงปลาในกระชังได้ในระดับหนึ่ง สภาพปัญหาปัจจุบัน ปลายเดือน ธันวาคม 2551 มีฝนตกหนักในพื้นที่จังหวัดนราธิวาสน้ำส่วนใหญ่ในเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส ไหลหลงรอยต่อระหว่างเขตเทศบาลเมืองนราธิวาส และอบต.โคกเคียน ส่งผลมาให้ผู้เลี้ยงปลาในกระชังได้รับความเสียหายเป็นมูลค่ากว่า 4 ล้านบาท ราษฎรร้องขอให้มีการเจาะท่อระบายน้ำจากทะเลโดยตรง การแก้ไขปัญหา จังหวัดนราธิวาสได้ประชุมหารือกับราษฎรตำบลโคกเคียน และผู้นำองค์การปกครองท้องถิ่น พบว่าหากทำการขุดเจาะเพื่อนำน้ำทะเลเข้ามาโดยตรง อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับราษฎรกลุ่มอื่น เช่น น้ำเค็มอาจมีผลกระทบต่อพื้นที่ทำหน้าในบริเวณใกล้เคียง ผลกระทบต่อคุณภาพน้ำตื้นซึ่งราษฎรใช้อุปโภค-บริโภค การสัญจรทางน้ำของราษฎร และความต้องการของราษฎรส่วนใหญ่ต้องการให้มีการขุดลอกคลองตลอดระยะทาง 11-12 กม.เพื่อเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำช่วยเหลือชาวประมงชาวฝั่งยากจนให้มีอาชีพในช่วงฤดูมรสุม และมีการตั้งข้อสังเกตว่าการที่น้ำในคลองโคกเคียนระบายได้ช้าเป็นเพราะแรงดันน้ำจากประตูระบายน้ำบางนรามีปริมาณที่ มากกว่า การดำเนินงาน ปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ใช้ประโยชน์จากคลองโคกเคียน
แนวทางแก้ไขปัญหา • การขนส่งทางน้ำที่ 4 สาขานราธิวาส • ขุดลอกคลองโคกเคียนจากปากคลอง • เข้าไป 5.0 กิโลเมตร • 2.โครงการชลประทานนราธิวาส ขุดลอก • คลองโคกเคียน ต่อเข้าไปทางต้นน้ำ • 7.0 กิโลเมตร • โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลุ่มน้ำ • บางนรา หน่วงเวลาระบายน้ำจาก • ประตูระบายน้ำบางนราตอนบนช่วง • น้ำทะเลลง 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้น้ำ • ในคลองโคกเคียนระบายก่อน • ประมงจังหวัดนราธิวาส ขึ้นทะเบียน • กลุ่มผู้เลี้ยงปลา และควบคุม ระยะเวลา • และการเลี้ยงให้ได้มาตรฐาน แนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ใช้ประโยชน์จากคลองโคกเคียน แผนที่ 1:50,000 โดยสังเขป แนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ใช้ประโยชน์จากคลองโคกเคียน โครงการชลประทานนราธิวาส ขุดลอก 7.0 กิโลเมตร การขนส่งทางน้ำที่ 4 สาขานราธิวาส ขุดลอก 5.0 กิโลเมตร ประตูระบายน้ำบางนราตอนบน หน่วงเวลาระบายน้ำ 2-3 ชั่วโมง
แนวทางแก้ไขปัญหา • การขนส่งทางน้ำที่ 4 สาขานราธิวาส • ขุดลอกคลองโคกเคียนจากปากคลอง • เข้าไป 5.0 กิโลเมตร • 2.โครงการชลประทานนราธิวาส ขุดลอก • คลองโคกเคียน ต่อเข้าไปทางต้นน้ำ • 7.0 กิโลเมตร • โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาลุ่มน้ำ • บางนรา หน่วงเวลาระบายน้ำจาก • ประตูระบายน้ำบางนราตอนบนช่วง • น้ำทะเลลง 2-3 ชั่วโมง เพื่อให้น้ำ • ในคลองโคกเคียนระบายก่อน • ประมงจังหวัดนราธิวาส ขึ้นทะเบียน • กลุ่มผู้เลี้ยงปลา และควบคุม ระยะเวลา • และการเลี้ยงให้ได้มาตรฐาน แนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ใช้ประโยชน์จากคลองโคกเคียน โครงการชลประทานนราธิวาส ขุดลอก 7.0 กิโลเมตร การขนส่งทางน้ำที่ 4 สาขานราธิวาส ขุดลอก 5.0 กิโลเมตร ประตูระบายน้ำบางนราตอนบน หน่วงเวลาระบายน้ำ 2-3 ชั่วโมง แผนที่ 1:50,000 โดยสังเขป แนวทางการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของราษฎรที่ใช้ประโยชน์จากตลองโคกเคียน
สภาพคลองโคกเคียนที่ราษฎรต้องการการให้ ขนส่งทางน้ำที่ 4 สาขานราธิวาส ดำเนินการขุดลอกระยะทาง 5.00 กิโลเมตร สภาพคลองโคกเคียนที่ราษฎรต้องการการให้ กรมชลประทาน ดำเนินการขุดลอกระยะทาง 7.00 กิโลเมตร
โครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ภาพถ่ายทางอากาศ มาตราส่วน 1:4,000 พื้นที่น้ำท่วมโซน 2 จำนวน 3,000 ไร่ พื้นที่น้ำท่วมโซน 1 จำนวน 9,000 ไร่ เขตเทศบาลเมืองนราธิวาส
โครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส สภาพปัญหา ตามที่ได้เกิดฝนตกหนักในจังหวัดนราธิวาส ตั้งแต่วันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 ถึง วันที่ 3 มกราคม 2552 ทำให้เกิดอุทกภัยในจังหวัดนราธิวาส ทุกอำเภอ โดยเฉพาะอำเภอเมืองนราธิวาส ในวันที่ 1 ธันวาคม 2551 ปริมาณฝนวัดได้ 399 มิลลิเมตร (รอบ 25 ปี) เกิดน้ำท่วมบริเวณในเขตตำบลโคกเคียน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส, เทศบาลเมืองนราธิวาส และบริเวณศูนย์ราชการจังหวัดนราธิวาส ทำให้บ้านเรือนราษฎร เส้นทางคมนาคม พื้นที่การเกษตรและส่วนราชการได้รับความเดือดร้อนจำนวนมาก แนวทางแก้ไข จังหวัดนราธิวาสได้พิจารณาแล้วเห็นว่าปัญหาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส เป็นปัญหาเร่งด่วนที่จะต้องรีบดำเนินการ เนื่องจากมีผู้ได้รับผลกระทบจำนวนมากหลายภาคส่วน ซึ่งเกิดจากการพัฒนาของรัฐส่งผลกระทบกับการพัฒนาจังหวัดและจิตวิทยามวลชนในการรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัดนราธิวาส ดังนั้น เพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาดังกล่าว จังหวัดนราธิวาสได้จัดทำโครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอนราธิวาส วงเงินงบประมาณ 106.00 ล้านบาท โดยมีรายละเอียดดังนี้
ท่อระบายน้ำทุ่งกง 1-[ ] 2.25x2.00 เมตร ลำดับชุด L 7018 ระวาง 5321 I ปรับปรุงขยายท่อระบายน้ำโคกเขือ 2-[ ] 2.25x2.00 เมตร ขุดลอกคลองทุ่งกง ยาว 2.05 กิโลเมตร พื้นที่โซน 1 ดำเนินการ 5 กิจกรรม ขุดลอกคลองน้ำดำ ยาว 6.50 กิโลเมตร ปรับปรุงขยายท่อระบายน้ำยะกัง 3- [ ] 2.00x2.00 เมตร พร้อมคันกั้นน้ำ และสถานีสูบน้ำ
โครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส พื้นที่โซน 1 (จำนวน 9,000 ไร่) ดำเนินการ 5 กิจกรรม 1. ขุดลอกคลองทุ่งกง ยาว 2.05 กม. และท่อระบายน้ำทุ่งกง 3.00 ล้านบาท 2. ขุดลอกคลองน้ำดำ ความยาว 6.50 กม. 6.00 ล้านบาท 3.ขุดลอกคลองศูนย์ราชการ ยาว 5.70 กม. 4.00 ล้านบาท 4.ปรับปรุงขยายท่อระบายน้ำโคกเขือ 4.00 ล้านบาท 5. ปรับปรุงขยายท่อระบายน้ำยะกัง พร้อมคันกั้นน้ำและสถานีสูบน้ำ 14.00 ล้านบาท รวมวงเงิน 31.00 ล้านบาท
พื้นที่โซน 2 ดำเนินการ 3 กิจกรรม ก่อสร้างท่อส่งน้ำ คสล. ขนาด 2-2.0x2.0 ยาว 175.0 ม. พร้อมรื้อถอนถนน คสล. ก่อสร้างรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก แบบปากเปิด ขนาด 2.0x4.0 ม. ยาว 450.0 ม. ขุดลอกคลองระบายน้ำ ลงคลองโคกเคียน ยาว 250.0 ม.
โครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส พื้นที่โซน 2 (จำนวน 3,000 ไร่) ดำเนินการ 3 กิจกรรม 1.ก่อสร้างรางระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กแบบปากเปิด 47.00 ล้านบาท ขนาด 2.0x4.0 ม. ยาว 450.0 ม. 2.ก่อสร้างท่อส่งน้ำคอนกรีตเสริมเหล็ก 26.50 ล้านบาท ขนาด 2-2.0x2.0 ยาว 175.0 ม. พร้อมรื้อถอนถนน คสล. 3.ขุดลอกคลองระบายน้ำลงคลองโคกเคียน ยาว 250.0 ม. 1.50 ล้านบาท รวมวงเงิน 75.00 ล้านบาท
โครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส ประโยชน์ที่ได้รับ สามารถแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยให้กับพื้นที่ตำบลโคกเคียน และตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส, เทศบาลเมืองนราธิวาส และบริเวณศูนย์ราชการจังหวัดนราธิวาส จำนวน 12,000 ไร่ บ้านเรือนราษฎร ในเขตตำบลโคกเคียนและเทศบาลเมืองนราธิวาส จำนวน 10,000 ครัวเรือน และหน่วยงานราชการภายในบริเวณศูนย์ราชการ จำนวน 40 หน่วย ช่วยรองรับการพัฒนาจังหวัดและจิตวิทยามวลชนในการรักษาความสงบเรียบร้อยในจังหวัดชายแดนภาคใต้ อย่างยั่งยืน ข้อเสนอของจังหวัดนราธิวาส 1) ข้อเสนอ ให้สำนักงานกปร.พิจารณาความเหมาะสมและสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการโครงการแก้ไขและบรรเทาอุทกภัยอำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาสวงเงินงบประมาณ 106.0 ล้านบาท 2) ข้อเสนอ ในกรณีเร่งด่วนให้กรมชลประทานสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่การเกษตรของราษฎร ในเขตตำบลโคกเคียน,ตำบลลำภูและศูนย์ราชการฯ ในปี 2552 ก่อนถึงฤดูน้ำหลาก(เดือนพฤศจิกายน) วงเงินงบประมาณ 31.0 ล้านบาท