460 likes | 628 Views
“ โ ครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”. ภ ายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดย รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์และคณะ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. การจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า.
E N D
“โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย“โครงการจัดทำแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕” ภายใต้ความร่วมมือระหว่างกรมปศุสัตว์ กับ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดย รศ.ดร.มนตรี โสคติยานุรักษ์และคณะ ตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
การจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้าการจัดทำแผนแม่บทการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า
กระบวนการจัดทำ “แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕” ๓.ทบทวน การปศุสัตว์โลก ๒.วิเคราะห์ปัจจัยแวดล้อม ๑.กำหนดกรอบแนวคิด ๔.วิเคราะห์ศักยภาพ การปศุสัตว์ไทย แผนแม่บท ด้านการปศุสัตว์ไทย ในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ ๘.ขอความเห็นชอบ ๕.สัมมนา สอบถามความเห็น ผู้มีส่วนได้เสีย ๗.ยกร่างแผนแม่บทฯ ๖.บูรณาการ แผนแม่บทฯ
กรอบแนวคิดในการจัดทำ “แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕”
วิเคราะห์สภาพแวดล้อม และปัจจัยแวดล้อม โดยสังเขป
RUSSIA GREECE IRELAND ภาวะเศรษฐกิจโลก CHINA ITALY SPAIN JAPAN U.S. PORTUGAL I N D I A GWP 2011 = $78.95 trillion INDONESIA BRAZIL AUSTRALIA SOUTH AFRICA สัดส่วนขนาดเศรษฐกิจเทียบโลก (2011) EU = 19.50% PIIGS = 5.03% US = 19.05% BRICS = 26.56% ASEAN = 4.21% CHINA = 14.30% THAILAND = 0.76%
GDP Growth rate US EU US EU
ภาวะเศรษฐกิจประเทศไทยภาวะเศรษฐกิจประเทศไทย ลดภาษี vs
การขยายตัวของอาเซียน Asean ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี 2558 -เปิดเสรีการค้าสินค้า -เปิดเสรีตลาดการบริการ -เปิดเสรีทางด้านการลงทุน -เปิดเสรีด้านแรงงาน ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน 4.21%ต่อGDPโลก ($3,326,090,000,000 ) ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+3 -> 26.03%ต่อGDPโลก ($20,554,090,000,000) ขนาดเศรษฐกิจอาเซียน+6 -> 33.01%ต่อGDPโลก ($26,058,090,000,000)
พัฒนาการของการปศุสัตว์โลกพัฒนาการของการปศุสัตว์โลก การเลี้ยงตามทุ่งหญ้าหรือตามบ้าน การเลี้ยงระบบฟาร์ม
อัตราการผลิตและการบริโภคเนื้อสัตว์ระหว่าง ปี 1980 -2030 การค้าขายเนื้อสัตว์และนม ของประเทศกำลังพัฒนาระหว่างปี ค.ศ. 1965-2030
ทิศทางการปศุสัตว์โลก โดยสังเขป ภาวะปศุสัตว์โลกในปัจจุบัน ภาวะปศุสัตว์โลกในอนาคต
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย สัดส่วนภาคเกษตรกรรมในแต่ละสาขา ปี พ.ศ. 2555 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย จำนวนเกษตรกรและจำนวนสัตว์ จำแนกตามรายประเภทสัตว์ ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย มูลค่าการนำเข้า-ส่งออกสินค้าปศุสัตว์ของไทย ปี พ.ศ. 2551 - 2552 ที่มา: สำนักส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย การส่งออกสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญของไทยปี พ.ศ. 2553 ที่มา:สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป 1. ภาวะของการปศุสัตว์ไทย ลำดับการค้าสินค้าปศุสัตว์ที่สำคัญปี พ.ศ. 2553 ที่มา:สำนักที่ปรึกษาทางเศรษฐกิจ เครือเจริญโภคภัณฑ์
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๒. คลัสเตอร์การปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๓. โครงสร้างภารกิจการปศุสัตว์ไทย
ศักยภาพด้านการปศุสัตว์ไทย โดยสังเขป ๔. SWOT Analysis การปศุสัตว์ไทย จุดแข็ง: ขนาดพื้นที่เพียงพอ ระบบนิเวศน์หลากหลาย สภาพอากาศเหมาะสม ปริมาณการผลิตมาก ๑ ใน ๕ ของอาเซียน ระบบฟาร์มได้มาตรฐานสากล ฯลฯ จุดอ่อน: จำนวนแรงงานลดลง เกษตรกรระดับการศึกษาต่ำ เครือข่ายเกษตรกรไม่เข้มแข็ง จำนวนโรงชำแหละและแปรรูปได้มาตรฐานน้อยราย การติดต่อประสานงาน ข้อจำกัดทางการตลาด ฯลฯ โอกาส: จำนวนประชากรโลกเพิ่มสูงขึ้น เศรษฐกิจในภูมิภาคขยายตัว ชื่อเสียงด้านอาหารของไทยการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจฯลฯ อุปสรรค: ความผันผวนทางเศรษฐกิจ วัตถุดิบอาหาร อุปสงค์ผู้บริโภค ปัจจัยการเมือง มาตรการกีดกันทางการค้า อำนาจทางการตลาด มลภาวะ กระแสต่อต้าน ฯลฯ
ตารางสรุปแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องกับภาคการปศุสัตว์ตารางสรุปแนวนโยบายที่เกี่ยวข้องกับภาคการปศุสัตว์
แผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้าแผนแม่บทด้านการปศุสัตว์ไทยในทศวรรษหน้า พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๕ วิสัยทัศน์ “การปศุสัตว์ไทยยั่งยืน ก้าวไกลในตลาดโลก”
ยุทธศาสตร์การปศุสัตว์ไทย พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๕
“แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์”“แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์” แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก) แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง)
แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ (๕ ปี แรก) วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำพัฒนาการปศุสัตว์สู่อาเซียนและตลาดโลก”
พันธกิจ (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีแรก) ๑. เสริมสร้างการพัฒนาเพิ่มศักยภาพ และสมรรถนะบุคลากรในกระบวนการปศุสัตว์ไทยให้มีความเป็นมืออาชีพ พร้อมเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economics Community: AEC) ส่งเสริมการสร้างคุณค่าในอาชีพเกษตรกรด้านการปศุสัตว์ ๒. ปรับปรุงโครงสร้างการผลิตให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างมูลค่าเพิ่ม เสริมสมรรถนะ ศักยภาพทางการแข่งขัน ๓. พัฒนาระบบสารสนเทศให้มีความเข้มแข็ง เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ครบวงจร ๔. สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาในเชิงบูรณาการกับภูมิปัญญา และความคิดสร้างสรรค์เพื่อฐานแห่งศูนย์กลางแหล่งความรู้ ๕. กำกับ ดูแล ตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ ด้วยกฎหมาย เงื่อนไข กฎระเบียบให้ได้มาตรฐานสากล และความร่วมมือกับต่างประเทศ
เป้าหมายหลัก (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีแรก) ๑. ทรัพยากรมนุษย์ในกรมปศุสัตว์มีจำนวนเพียงพอ มีศักยภาพและสมรรถนะได้มาตรฐาน เข้มแข็งพอต่อการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ๒. ระบบการผลิตปศุสัตว์ไทยทั้งห่วงโซ่การผลิต มีความสอดคล้องเชื่อมโยง ได้มาตรฐานตรงตามเงื่อนไข ประเทศคู่ค้า มีความร่วมมือกับประเทศสมาชิกประชาคมอาเซียน ๓. มีระบบสารสนเทศที่มีความครบถ้วน ทันสมัย ง่ายต่อการเข้าถึง และมีการดำเนินงานเชื่อมโยงกันอย่างบูรณาการ การบริหารจัดการภาครัฐด้านการปศุสัตว์ไทยมีความเข้มแข็งเป็นมืออาชีพในการให้บริการ ๔. เป็นศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านการปศุสัตว์ไทย มีการร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ๕. มีบทบาทในการกำกับ ดูแล และตรวจสอบกระบวนการปศุสัตว์ที่ชัดเจนมากขึ้น ด้วยเงื่อนไขข้อกฎหมาย กฎระเบียบที่ได้มาตรฐานสากลต่างๆ รวมทั้งข้อบัญญัติในความตกลงความร่วมมือกับต่างประเทศ
ค่านิยมหลักกรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐ “I-SMART” I: Innovation สร้างนวัตกรรม S: Standard สร้างมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ M:Mastery ทำงานอย่างมืออาชีพ A: Agility คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง R: Responsibility มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ T: Teamwork มุ่งมั่นในการทำงานร่วมกัน
ยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๖๐
แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์แผนยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ (๕ ปี หลัง) วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรนำขับเคลื่อนการปศุสัตว์ไทยยั่งยืนในตลาดโลก”
พันธกิจ (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีหลัง)
เป้าหมายหลัก (แผนยุทธ์ฯ กรม ๕ ปีหลัง) ๑. เป็นผู้นำการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านปศุสัตว์สู่สากล ๒. ศักยภาพด้านการผลิตได้มาตรฐาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการสร้างตราสินค้าให้กับผลิตภัณฑ์การปศุสัตว์ไทย เพื่อให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ๓. เป็นศูนย์กลางด้านปศุสัตว์ในอาเซียน ๔.มุ่งเน้นบทบาทหน้าที่ในการเป็นฝ่ายกำกับควบคุมดูแล
ค่านิยมหลักกรมปศุสัตว์พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๕ “I2-SMART” I: Innovation สร้างนวัตกรรม I: Integration ทำงานแบบบูรณาการ S: Standard สร้างมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ M: Mastery ทำงานอย่างมืออาชีพ A: Agility คล่องตัวและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง R: Responsibility มีความรับผิดชอบต่อสังคมและประเทศชาติ T: Teamwork มุ่งมั่นในการทำงานร่วมกัน
ยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕