1 / 67

โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน

โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน. ข.แม่กลอง จ.กาญจนบุรี. ข. เจ้าพระยา จ.ชัยนาท. ข.ขุนด่านปราการชล จ.นครนายก. ข. ป่าสักชลสิทธ์ จ.ลพบุรี. ข. นเรศวร จ. พิษณุโลก. ข. แควน้อย จ.พิษณุโลก. โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน - ความเป็นมา - ประโยชน์ของโครงการ

josef
Download Presentation

โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทานโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน ข.แม่กลอง จ.กาญจนบุรี ข. เจ้าพระยา จ.ชัยนาท ข.ขุนด่านปราการชล จ.นครนายก ข. ป่าสักชลสิทธ์ จ.ลพบุรี ข. นเรศวร จ.พิษณุโลก ข. แควน้อย จ.พิษณุโลก

  2. โครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทานโครงการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน - ความเป็นมา - ประโยชน์ของโครงการ โรงไฟฟ้าพลังน้ำ เขื่อนแม่กลอง - ประโยชน์ของเขื่อนแม่กลอง - การแก้ไขผลกระทบจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าฯ - แนวคิด การออกแบบ การเดินเครื่อง - การดำเนินงานก่อสร้างโครงการฯ - ภาพถ่ายความก้าวหน้างานฯ - งานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และมวลชนสัมพันธ์ - โครงการในอนาคต หัวข้อนำเสนอ

  3. 2 กันยายน 2546ครม. เห็นชอบยุทธศาสตร์ส่งเสริม และพัฒนาการใช้ พลังงานหมุนเวียน เพื่อลดการนำเข้าเชื้อเพลิงราคาแพงจากต่างประเทศ ชีวมวล ชีวภาพ พลังน้ำ พลังลม แสงอาทิตย์

  4. ทางเลือกพลังงานทดแทน • โรงไฟฟ้าพลังน้ำ 2.21 บาท/หน่วย • โรงไฟฟ้าชีวะมวล 2.63 บาท/หน่วย • โรงไฟฟ้าขยะ 4.63 บาท/หน่วย • โรงไฟฟ้ากังหันลม 7.14 บาท/หน่วย • โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์ 20.80 บาท/หน่วย

  5. วันที่ 9 ธันวาคม2546 คณะรัฐมนตรีมีนโยบายส่งเสริมให้มีการผลิตไฟฟ้า ท้ายเขื่อนชลประทาน ซึ่งเป็นการบูรณาการบริหาร จัดการน้ำเพื่อการชลประทานให้ได้ประโยชน์สูงสุด

  6. โรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน 6 เขื่อน 78.7 เมกะวัตต์ • ระบบผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ 1.0 เมกะวัตต์ • โรงไฟฟ้ากังหันลม 2.0 เมกะวัตต์

  7. เพิ่มความมั่นคงให้กับระบบไฟฟ้าในเขตอำเภอ และเขตใกล้เคียงโครงการ ประชาชนในเขตพื้นที่โครงการยังคงได้รับน้ำเพื่อการชลประทานในปริมาณเท่าเดิม องค์การบริหารท้องถิ่นจะมีรายได้จากภาษีอากรสามารถนำไปพัฒนาท้องถิ่น เกิดการจ้างแรงงานในท้องถิ่นในช่วงก่อสร้างโครงการ สามารถผลิตไฟฟ้าเสริมเข้าสู่ระบบได้ประมาณ 388 ล้านหน่วยต่อปี ประหยัดการนำเข้าเชื้อเพลิงราคาแพงจากต่างประเทศได้ถึง 95 ล้านลิตรต่อปี ลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทำให้โลกร้อนได้ 229,461 ตันต่อปี เป็นการช่วยอนุรักษ์โลก สมทบเงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้าเดือนละ 2 สตางค์ต่อหน่วย เพื่อนำไปใช้พัฒนาอาชีพ การศึกษา ศาสนา กีฬา สาธารณสุข ฯลฯ แก่ชุมชน รอบโรงไฟฟ้า

  8. หมายเหตุ 1. สำหรับโครงการฯ เขื่อนนเรศวร ยังอยู่ในการพิจารณา Financial Additionally 2. ประมาณราคา Certified Emission Reduction (CERs) = USD 15/tCO2 e (USD 1 / THB 33)

  9. ธ.ค.50 ธ.ค.53  ก.ย.51 ก.ค.56  มี.ค.52 เม.ย.55  ต.ค.51 ก.พ.56  ม.ค.52 ธ.ค.55  ก.ค.53 ม.ค.57

  10. โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนเจ้าพระยาเฉลิมพระเกียรติ ๖๐ ปี บรมราชาภิเษก

  11. โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนเจ้าพระยาโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนเจ้าพระยา เฉลิมพระเกียรติ ๖๐ ปี บรมราชาภิเษก

  12. Penstock and Bifurcation งานเหล็กเสริมและคอนกรีตรอบท่อ Penstock เทคอนกรีตรอบท่อ Sta.0+067 ถึง 0+093 ติดตั้งเหล็กเสริมรอบท่อ Sta.0+061 ถึง 0+067 +72.00 +64.65 +63.15 +63.70 +62.00 +55.65 Sta.+011.815 Sta.+020.000 Sta.+003.000 Sta.+051.941 Sta.+067.585 Sta.+082.990 Sta.+093.585 Sta.+072.385 • คอนกรีตหุ้มท่อ Penstock & Bifurcation Sta.0+067 ถึง 0+082 ถึงระดับ +63.70 และ Sta.0+082 ถึง 0+093 ถึงระดับ +62.00 คอนกรีตสะสม 1,931 ลบ.ม. คิดเป็น 65.46% • เสริมเหล็กรอบท่อ Sta.0+061 ถึง 0+067 20

  13. Powerhouse +66.50 เสริมเหล็กผนังถึงระดับ +66.50 งานคอนกรีต เทคอนกรีตพื้นระดับ +56.00 +59.50 R/T L/T +56.00 +56.00 +56.00 +51.85 +52.75 เทคอนกรีตพื้นระดับ +52.75 เทคอนกรีตพื้นระดับ +56.00 (L/T), +52.75 ปริมาณ 238.50 ลบ.ม. ปริมาณคอนกรีต Base Slab สะสม 2,152 ลบ.ม..คิดเป็น 72.09 % และคอนกรีตโครงสร้างอื่นสะสม 210 ลบ.ม. คิดเป็น 3.06% 21

  14. อาคารโรงไฟฟ้า อาคารโรงไฟฟ้า

  15. 23

  16. งานติดตั้งด้านเครื่องกลงานติดตั้งด้านเครื่องกล 24

  17. อาคารโรงไฟฟ้าฯ บริเวณพื้นที่ก่อสร้าง • ที่ตั้งโครงการ.. • โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแม่กลอง • ตั้งอยู่เลขที่96/1005 หมู่ที่ 1 ตำบลม่วงชุม อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี

  18. เขื่อนแม่กลอง (เดิมเขื่อน วชิราลงกรณ) เป็นเขื่อนทดน้ำ ได้เริ่มก่อสร้างตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2507 แล้วเสร็จในปี พ.ศ. 2512 เมื่อวันที่ 8 เมษายน พ.ศ. 2508 ได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้อัญเชิญพระนามสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าวชิราลงกรณ เป็นชื่อเขื่อนขนานนามว่า “เขื่อนวชิราลงกรณ” เพื่อเป็นมงคลนาม เขื่อนแม่กลอง ได้มีพระราชพิธีเปิดใช้เขื่อน เมื่อวันที่๑สิงหาคม พ.ศ. 2513 ต่อมาในปี พ.ศ.2545 ได้เปลี่ยนชื่อเขื่อน วชิราลงกรณ เป็นเขื่อนแม่กลอง

  19. เขื่อนแม่กลอง เป็นเขื่อนทดน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กยาว 117.5 เมตร ช่องระบายน้ำกว้าง 12.50 เมตร จำนวน 8 ช่อง เปิด ปิดด้วยบานระบายเหล็กโค้งสูง 7.50 เมตร เริ่มส่งน้ำ ปีพ.ศ. 2513 เก็บกักน้ำที่ระดับ +22.50 เมตร ( รทก ) ระบายน้ำได้สูงสุด 3,100 ลบ.ม./วินาที หลักการทำงาน เขื่อนแม่กลองจะควบคุมระดับน้ำเหนือเขื่อนให้ได้ระดับ+22.50เมตร(รทก)ซึ่งเป็นระดับน้ำที่เก็บกักและผันน้ำเข้าคลองส่งน้ำ

  20. กิจกรรมการใช้น้ำเขื่อนแม่กลองกิจกรรมการใช้น้ำเขื่อนแม่กลอง ทดน้ำและส่งน้ำกับพื้นที่การเกษตรในเขตลุ่มน้ำแม่กลองใหญ่ได้แก่พื้นที่ จังหวัด กาญจนบุรี สุพรรณบุรี นครปฐม ราชบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร และเพชรบุรี รวมพื้นที่ 3,170,700 ไร่ 1 เพื่อการชลประทาน 2 เพื่อผลักดันน้ำเค็ม อุปโภคบริโภคและรักษาสภาพน้ำในแม่น้ำแม่กลอง 3 เพื่อสนับสนุนแม่น้ำท่าจีน 4 เพื่อกิจกรรมการประปาในเขตกรุงเทพมหานคร

  21. การดำเนินงานก่อสร้างอาคารที่ทำการทดแทน ให้กรมชลประทาน สำนักชลประทานที่ ๑๓ เนื่องจากได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแม่กลอง • งบประมาณที่ใช้ในการก่อสร้าง 43 ล้านบาท ประกอบด้วย... • อาคารที่ทำการขนาดพื้นที่เฉลี่ย 650 ตารางเมตร จำนวน 3 หลัง • อาคารพัสดุ, โรงจอดรถ จำนวน 6หลัง • ส่วนประกอบ เสาธง,รั้ว,รางระบายน้ำ,ตบแต่งบริเวณ • สาธารณูปโภค ไฟฟ้า,ประปา • เครื่องปรับอากาศ ,ม่านบังแดด และอื่นๆ

  22. โครงการก่อสร้าง 2 สำนักชลประทานที่13 อาคารหลังใหม่ อาคารหลังเก่า

  23. โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนแม่กลองโครงการส่งน้ำและบำรุงรักษาเขื่อนแม่กลอง อาคารหลังใหม่ อาคารหลังเก่า

  24. อาคารสหกรณ์ออมทรัพย์ชลประทานแม่กลอง จำกัด อาคารหลังใหม่ อาคารหลังเก่า

  25. ส่งมอบอาคารที่ทำการระหว่างชลประทานและการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยวันที่ ๒๘ เมษายน ๒๕๕๒

  26. ผังบริเวณโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำท้ายเขื่อนชลประทาน เขื่อนแม่กลอง

  27. แนวคิดในการออกแบบ โรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแม่กลอง • โรงไฟฟ้าจะปล่อยน้ำเพื่อเดินเครื่องตามแผนการระบายน้ำของกรมชลประทาน • การก่อสร้างให้มีผลกระทบต่อสภาพธรรมชาติเดิมน้อยที่สุด

  28. การออกแบบ (กำลังการผลิตไฟฟ้าโรงไฟฟ้าเขื่อนแม่กลอง) • ติดตั้งเครื่องกังหันน้ำแบบ Bulb Turbine ขนาดกำลังผลิตเครื่องละ 6 MW จำนวน 2 เครื่อง • หัวน้ำที่ใช้ในการออกแบบ (Rated Head) 9.20 เมตร ( เดินเครื่องได้ตั้งแต่ 4.50 เมตร ถึง 11.50 เมตร ) • อัตราการไหลต่ำสุดต่อเครือง 27 ลูกบากศ์เมตร/วินาที สูงสุด 75.56 ลูกบากศ์เมตร/วินาที (2 เครื่องสูงสุด 151.12 ลูกบากศ์เมตร/วินาที) • พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ยรายปี 74 ล้านกิโลวัตต์ Flow Flow Flow Flow

  29. สัญญางานก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังน้ำเขื่อนแม่กลอง • จ้างออกแบบ ก่อสร้างโยธาพร้อมทั้งซื้อและติดตั้งอุปกรณ์สำหรับโรงไฟฟ้า ขนาดกำลังผลิต 12 เมกะวัตต์ (2x6 เมกะวัตต์) EPC • คู่สัญญาคือ :: - The Consortium of Chongqing Water Turbine Works, (สาธารณรัฐประชาชนจีน) - SG Summit Grade Ltd. , - ST Power Engineering Corp. CSS Consortium (ประเทศไทย)

  30. Progress Of Civil Works

  31. Project Of Works 98.99% Intake Structure 96.79% Approach Channel 100% Powerhouse 99.79% Bridge 100% Flow Service Road 83.41% Transformer Powerhouse ทางเข้ารฟ. + 26.50 Flow Flow Tailrace Channel 93.47%

  32. Intake Structure & Bridge No.1 ฝั่งซ้าย ฝั่งขวา ฝั่งซ้าย ฝั่งขวา Flow Flow งานที่กำลังดำเนินการ ลักษณะงาน - Intake:ขุดดิน Slope 1 : 2 และเรียงหิน Riprap หนา 0.50 ม. เท Slab Concrete ความหนาประมาณ 0.80 ม. ถึง 1.20 ม. ความยาวทั้งหมด : 54.75 m. (Sta. 0+000toSta. 0+054.750) ความกว้าง 24 ม. ความสูง 9 ม. - Bridge 1: ขุดดิน ตอกเสาเข็ม Concrete Sheet Pile และโครงสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก ความกว้าง 11 ม. ความยาว 25 ม. ความสูง 10 ม. Flow Flow Click : Intake Structure

  33. Approach Channel Intake Structure Powerhouse Flow ลักษณะงาน : งานขุดดิน Slope 1 : 2 ระบบ Drain และ Concrete lining หนา 0.10 ม. ความยาวทั้งหมด :373.20 ม.(Sta. 0+054.750toSta. 0+427.95) ความกว้าง ก้นคลอง 15 ม. ปากคลอง 47 ม. ความลึก 9 ม. ประมาณงานตาม BOQ :Exc. 148,000 ลบ.ม. Click : Approach Channel Sta. 0+054.750 Sta. 0+412.592 • Complete 100% Flow

  34. Bridge No.2 • Complete 100% • เปิดใช้งานแล้วยังไม่เป็นทางการ Click : Bridge No.2 ลักษณะงาน : ขุดดิน ตอกเสาเข็มและโครงสร้างสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก พร้อมทางเดินและราวสะพาน ความยาวทั้งหมด : ความยาว 50 ม. กว้าง 11 ม. ความสูง 10 ม.

  35. Powerhouse Click : งานฐานราก Powerhouse

  36. +26.70 Erection Bay +22.50 +20.70 Flow +14.00 +12.75 +12.00 Flow Flow Flow +7.90 +4.35 +4.80

  37. Civil Works งานที่ดำเนินการในเดือนที่ผ่านมา งานติดตั้งรั้วตะแกรงเหล็กบริเวณป้อมยาม งานเหล็กเสริมคานโรงเก็บ Stoplog งานเทคอนกรีต Secord Stage Inlet Section Of Draft Tube Unit.2 แล้วเสร็จ งานเสริมเหล็กตั้งแบบเพื่อที่จะเทคอนกรีต Secord Stage Unit 1

  38. Civil Works Tailrace Channel ส่วนที่กำลังดำเนินการ Tailrace Channelงานขุดดิน Cofferdam และเรียงหิน Riprap ฝั่งซ้าย Complete Flow **งานเรียงหินRiprap **งานดาดคอนกรีตแล้วเสร็จ ฝั่งขวา

  39. Road 3 Road 1 Service Road Road 2 Road 4

  40. Progress of Installation Work Mechanical Works = 92.32% Electrical Works = 79.16%

More Related