1 / 49

แนวทางการพัฒนาระบบส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัยทำงาน วัยสูงอายุ

แนวทางการพัฒนาระบบส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัยทำงาน วัยสูงอายุ. Sampan_man@yahoo.com Mobile number. 081-4765594 งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. นิยาม. วัยทำงาน. อายุ 25-59 ปี. อายุ 60 ปีขึ้นไป. วัยสูงอายุ. ความหมายของสังคมผู้สูงอายุ.

jorryn
Download Presentation

แนวทางการพัฒนาระบบส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัยทำงาน วัยสูงอายุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการพัฒนาระบบส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต วัยทำงาน วัยสูงอายุ Sampan_man@yahoo.com Mobile number. 081-4765594 งานสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน โรงพยาบาลสวนสราญรมย์

  2. นิยาม วัยทำงาน อายุ 25-59 ปี อายุ 60 ปีขึ้นไป วัยสูงอายุ

  3. ความหมายของสังคมผู้สูงอายุความหมายของสังคมผู้สูงอายุ สังคมสูงอายุ (Aging Society) ประเทศใดที่มีประชากรสูงอายุสูงกว่า ร้อยละ 10 ถือว่าประเทศนั้นเข้าสู่สังคมสูงอายุแล้ว ประเทศไทยเข้าสู่สังคมสูงอายุ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2548

  4. กระบวนการทางประชากร ที่นำไปสู่การสูงอายุของประชากร 2) การลดลง ของภาวะ การตาย 1) การลดลง ของภาวะเจริญพันธุ์

  5. ปี 2553 ประเทศไทยจัดทำสำมะโนประชากรและเคหะ (ครบ 100 ปีสำมะโนครัวไทย) ชาย ครัวเรือน 32.1 ล้าน (49.1 %) หญิง จำนวน 20.3 ล้าน 33.3 ล้าน (50.49 %) ประชากร 65.4 ล้าน สถานการณ์ประชากรในประเทศไทย ผลเบื้องต้น ที่มา:สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ. 2553 วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  6. แสดงการคาดการณ์แนวโน้มร้อยละของประชากรสูงอายุไทยพ.ศ. 2503-2563 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ปีพ.ศ. 2543

  7. ขนาดและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุระดับประเทศขนาดและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุระดับประเทศ

  8. ขนาดและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุระดับประเทศขนาดและแนวโน้มประชากรผู้สูงอายุระดับประเทศ

  9. Speed of Population Aging

  10. สถานการณ์ผู้สูงอายุ • ประเทศไทยได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี ๒๕๔๗เนื่องจากมีสัดส่วนประชากรมากกว่า ๑๐ % (WHO) • ผู้สูงอายุไทยมี ๘,๓๐๐,๐๐๐ คน (๑๓%) • อายุคาดเฉลี่ยแรกเกิด ชาย ๖๖ ปีหญิง ๗๔ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๖๓ เป็นต้นไป ประชากรผู้สูงอายุจะมากกว่าวัยเด็ก • ในปีพ.ศ.๒๕๗๓ ประชากรผู้สูงอายุจะมากกว่าวัยเด็ก ๒ เท่า

  11. ปี ๒๕๕๔

  12. Percent DALY 1999, 2004, and 2009 of Thai Aged

  13. อัตราการใช้บริการสุขภาพ ๒๕๕๓

  14. ที่มา: โครงการรายงานสุขภาพจิตประจำปี สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552

  15. เป้าหมายหลัก / ตัวชี้วัด ประชาชนมีความสุข เพิ่มความสุข ลดความทุกข์ 70% ของประชาชน ในแต่ละจังหวัดมีความสุข อัตราการฆ่าตัวตายของประชาชน ในแต่ละจังหวัดลดลง บุคคล – ครอบครัว – ชุมชน – สังคม

  16. สิทธิผู้สูงอายุ ตามพ.ร.บ.ผู้สูงอายุพ.ศ. 2546 และที่แก้ไขพ.ศ. 2553 (ม.11) 1. การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่สะดวก และรวดเร็ว 2. การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสาร 3. การประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพ 4. การพัฒนาตนเอง มีส่วนร่วมทางสังคม 5. การอ านวยความสะดวก ความปลอดภัยในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการสาธารณะ 6. การช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะ

  17. การพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุการพัฒนางานสุขภาพจิตในกลุ่มวัยสูงอายุ สร้างคุณค่าและความภาคภูมิใจในชีวิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในผู้สูงอายุที่ถูกทอดทิ้ง เน้น

  18. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ เสี่ยง ดี ป่วย กลุ่มเป้าหมาย วัยสูงอายุ ส่งเสริมสุขภาพจิต / คัดกรอง Depression/Dementia และส่งต่อเข้ารับการดูแล ประเมินและดูแลภาวะDepression/Dementia รพศ./รพท. ระบบ Refer คลินิก NCD / คลินิกสูงอายุ ใน รพช. ชมรมผู้สูงอายุ ระบบบริการบำบัดรักษาและฟื้นฟูทางจิตเวช โรงพยาบาลจิตเวช

  19. รูปแบบการดำเนินโครงการส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ปี 2556 กรมสุขภาพจิต -พัฒนาแบบคัดกรอง สมองเสื่อม ฉบับ อสม. -พัฒนาศักยภาพบุคลากร ในกรม/ร่วมกับศูนย์สุขภาพจิต/รพ.จิตเวช รพช. รพ.สต. รณรงค์ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้/วิธีการดูแลตนเองเพื่อสร้างความสุข/เฝ้าระวังและป้องกันปัญหาซึมเศร้า/สมองเสื่อมในผู้สูงอายุ • ศูนย์สุขภาพจิต สำนักพัฒนาสุขภาพจิต/ Geriatric excel รพ.จิตเวช ศูนย์สื่อสารสังคม คลินิกNCD/ผู้สูงอายุ -คัดกรองซึมเศร้า 9Q/สมองเสื่อมMMSE -จัดกิจกรรม 5 สุขเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและชะลอความเสื่อมของร่างกายขณะผู้สูงอายุรอแพทย์ตรวจ Psychosocial clinic สนับสนุน NCD clinic ชุมชน นิเทศ/ติดตาม อสม./ แกนนำ ชมรมผู้สูงอายุ(19,072 ชมรม) นิเทศ/ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินงานในพื้นที่ - คัดกรองซึมเศร้า 2Q - จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สมองเสื่อม (5 สุข/อื่นๆ) พยาบาล PG Output: 50% ของ รพช.มีบริการ Psychosocial care สำหรับผู้สูงอายุ Outcome: 50%ของผู้สูงอายุใน คลินิกNCD/ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อม รวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและดูแลทางด้านสังคมจิตใจ 5% dementia เข้าถึงการรักษา Output :ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอ มีศักยภาพมีความเข้มแข็ง (เครือข่ายระดับอำเภอ:รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/โรงเรียน/วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ) +สื่อพื้นที่ กองแผนงาน

  20. การพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และการสร้างการเข้าถึงบริการฯ พัฒนาหน่วยบริการจิตเวชให้มีความเป็นเลิศเฉพาะทางฯ (Excellence center) ยกระดับงานบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในโรงพยาบาลจิตเวชทั่วไปในสังกัดกรมฯ ในระดับที่เหนือกว่าระดับตติยภูมิ (Supra Tertiary) พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวชในประเทศไทย รวมทั้ง พัฒนาศักยภาพบุคลากร สร้างและพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานสุขภาพจิตชุมชนในระดับอำเภอให้มีศักยภาพ และความเข้มแข็ง เน้น

  21. แนวทางการบูรณาการการดำเนินงานกับเครือข่าย เพื่อขับเคลื่อนนโยบายฯ รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน ดี - เสี่ยง ป่วย กลุ่มเป้าหมาย Refer บริการสุขภาพจิตและจิตเวชระดับเหนือกว่าตติยภูมิ (Supra Tertiary) ระบบส่งเสริม/ ป้องกันเฝ้าระวัง คัดกรอง ให้ความรู้เบื้องต้น ผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช บริการสุขภาพจิตและจิตเวช ในระบบบริการสาธารณสุขระดับทุติยภูมิ / ตติยภูมิ เครือข่ายในชุมชน โรงพยาบาลจิตเวช 18 แห่ง รพช. / รพท. / รพศ. 12 พวงบริการ พัฒนาการเด็ก / MR / Autistic / ADHD / Schizophrenia/ Depression / Suicide / Dementia บริการบำบัดรักษา และฟื้นฟูสมรรถภาพ ทางจิตเวชเฉพาะทาง (Excellence) ประเมินและดูแลเบื้องต้น Refer รพ.สต. / ศสม. โรงพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง 27

  22. Psychosocial clinic ในรพช. พยาบาล PG สุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่น สุขภาพจิตวัยทำงาน สุขภาพจิตผู้สูงอายุ -สนับสนุนและส่งต่อปัญหาพัฒนาการจาก Well baby clinic -สนับสนุนและส่งต่อปัญหาสุขภาพจิตวัยรุ่น จากโรงเรียนและชุมชน -Well baby clinic : คัดกรอง และกระตุ้นพัฒนาการ -คัดกรองและช่วยเหลือเครียด ซึมเศร้า9Q/สุรา/ยาเสพติด ปัญหาครอบครัว -สนับสนุนและรับส่งต่อปัญหาสุขภาพจิตจากรพช.และชุมชน -สนับสนุน NCD Clinic คลินิก NCD/ผู้สูงอายุ -คัดกรองซึมเศร้า 9Q/สมองเสื่อม MMSE -จัดกิจกรรม 5 สุขเพื่อป้องกันปัญหาสุขภาพจิตและชะลอความเสื่อมของร่างกายขณะผู้สูงอายุรอแพทย์ตรวจ Output:50% ของรพช. มีบริการ Psychosocial careสำหรับผู้สูงอายุ Outcome:50 %ของผู้สูงอายุในคลินิก NCD/ผู้สูงอายุได้รับการ คัดกรองภาวะซึมเศร้า/สมองเสื่อมรวมทั้งได้รับการช่วยเหลือและดูแล ทางสังคมจิตใจ -50% dementia เข้าถึงการรักษา Output: 50% ของรพช.มีคลินิก Psychosocial care Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล -Psychosis/schizophrenia ร้อยละ75 -Depression ร้อยละ 31 -sucide Ideation/Attempt ร้อยละ 90 -30% ของผู้เสพติดและผู้มีปัญหา ครอบครัวได้รับการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ Output: 1.50% รพศ./รพท.มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชวัยรุ่น 2.50% รพช.มีบริการพัฒนาการเด็กใน well baby clinic Outcome: ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการดูแล -MR/Autistic/ADHD ร้อยละ 20 -50% ของนักเรียนที่มีปัญหาได้รับการส่งต่อและมีการดูแลทางด้านสังคมจิตใจ

  23. เด็กและวัยรุ่น วัยทำงาน วัยสูงอายุ นิเทศ/ติดตาม สสจ. ศูนย์อนามัยเขต พมจ. แรงงานจังหวัด สสจ. บทบาทศูนย์สุขภาพจิตในการดำเนินงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2556 เครือข่ายในชุมชน เครือข่ายชุมชน เครือข่ายชุมชน ชุมชน สถานประกอบการ ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ชุมชน ชุมชน โรงเรียน/ศูนย์เด็กเล็ก ชมรมผู้สูงอายุ (19,072 ชมรม) -ประเมินและกระตุ้นพัฒนาการ -คัดกรอง ASSISTใน TO BE NO 1 -SDQในระบบดูแลช่วยเหลือ -จัดกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์เวทีสร้างสุข -คัดกรองซึมเศร้า 2Q ฆ่าตัวตาย/ AUDIT ASSISTครอบครัว เครียด -จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ศูนย์สุขภาพจิต -คัดกรองซึมเศร้า 2Q -จัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต สมองเสื่อม (5สุข/อื่นๆ) Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง Outcome : ร้อยละ 30 ของชมรมผู้สูงอายุมีระบบคัดกรองภาวะซึมเศร้า/และมีกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิต ซึมเศร้าและสมองเสื่อม Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง ร้อยละ 20 ของ Friend Corner ในโรงเรียนมีคุณภาพและมีระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่เชื่อมโยงกับ รพช. Output : ร้อยละ 30 ของเครือข่ายในระดับอำเภอมีศักยภาพมีความเข้มแข็ง Outcome : ร้อยละ 30 ของอำเภอมีระบบฐานข้อมูลการคัดกรองและมีการจัดกิจกรรมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตวัยทำงานและครอบครัว เครือข่ายระดับอำเภอ : รพช./รพ.สต./อปท./อสม./สถานประกอบการ/รร./วัด/ศูนย์เด็กเล็ก/ครอบครัว/NGO/กลุ่มชมรมต่างๆ

  24. สรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุขสรุปแนวทางการพัฒนางานสุขภาพจิตที่สำคัญในระบบสาธารณสุข กลุ่มเป้าหมาย

  25. กลุ่มวัยทำงาน คัดกรองสารเสพติด คัดกรองภาวะซึมเศร้า กลุ่มสูงอายุ

  26. การคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าในระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้าการคัดกรองและประเมินโรคซึมเศร้าในระบบเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

  27. กระบวนการเฝ้าระวังโรคซึมเศร้ากระบวนการเฝ้าระวังโรคซึมเศร้า

  28. เป้าหมาย

  29. การคัดกรองและการบำบัดแบบย่อASSIST-SBI Thailand ASSIST-SBI Implementation Project

  30. วัตถุประสงค์ของบทเรียนวัตถุประสงค์ของบทเรียน เมื่อจบบทเรียน ผู้เรียนจะสามารถ • อธิบายได้ว่า ASSIST คืออะไร • ใช้เครื่องมือและเอกสารประกอบต่างๆ ได้ • อธิบายความจำเป็นและขั้นตอนของการทำการบำบัด • แบบย่อที่เชื่อมต่อจากการคัดกรองด้วย ASSIST

  31. ASSIST คืออะไร Alcohol, Smoking, Substance Involvement Screening Test • เป็นแบบสอบถามมี 8 ข้อคำถาม ใช้ถามโดยบุคลากรทางคลินิก • ใช้เวลาสัมภาษณ์ประมาณ 10 นาที • ถูกพัฒนามาเพื่อใช้โดยผู้ทำงานด้านสุขภาพในสถานบริการระดับปฐมภูมิ และหน่วยงานด้านสวัสดิการสังคม • มีโอกาสพัฒนาสำหรับใช้ในสถานบริการแบบอื่นๆ • ไม่ขึ้นกับวัฒนธรรม

  32. ASSIST ใช้ทำอะไร • ใช้คัดกรองการใช้สารเสพติดแบบเสี่ยงอันตราย • ยาสูบ สุรา กัญชา โคเคน ยาบ้า ยากล่อมประสาท/ยานอนหลับ ยาหลอนประสาท สารระเหย สารกลุ่มฝิ่น และสารอื่นๆ • บอกคะแนนความเสี่ยงจากการใช้สารแต่ละชนิด • เสี่ยงต่ำ เสี่ยงปานกลาง เสี่ยงสูง • เพิ่มโอกาสที่จะเริ่มการพูดคุยหรือให้การบำบัดแบบย่อเกี่ยวกับปัญหาการใช้สารเสพติดกับผู้ป่วย

  33. ทำไมควรทำ ASSIST • ผู้ที่มีความเสี่ยงปานกลางและเสี่ยงสูงจากการใช้สารเสพติดเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศชาติ • แพทย์ พยาบาลจะรู้จักและวินิจฉัยผู้ติดสารเสพติดได้มากกว่า ผู้ที่มีความเสี่ยงปานกลาง • ผู้เสี่ยงปานกลางมีจำนวนมากกว่าผู้ติดสารเสพติดมาก และเพิ่มภาระการดูแลสุขภาพได้มากกว่า • ASSIST และการบำบัดแบบสั้นที่เชื่อมต่อกันนี้ถูกออกแบบมาเพื่อให้สามารถค้นหาผู้ที่มีความเสี่ยงปานกลางและนำเข้าสู่ การบำบัดได้

  34. ทำไมควรทำ ASSIST • คนใช้สารเสพติด เพราะทำให้เขารู้สึกเป็นสุข หรือได้ฤทธิ์ตามที่เขาต้องการ • ปัญหาจากการใช้สารอาจจะเกิดได้จาก • การเมาสาร (acute intoxication) • การใช้เป็นประจำ • การติดสาร • การฉีดสาร • ASSIST ครอบคลุมปัญหาเหล่านี้ทั้งหมด

  35. MOTIVATIONAL COUNSELING BA./BI./BC. การให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  36. Motivational Interviewing directive , Client - Centered Counseling style for eliciting Behavioral Change by helping Clients to explore and resolve ambivalence (Stephen Rollnick William Miller 1995)

  37. Motivational interviewing ความหมาย : การสนทนา(สื่อสารสองทาง)เพื่อ สร้างแรงจูงใจ ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ส่งเสริมสนับสนุนการมีพฤติกรรม สุขภาพ

  38. Motivational Counseling การให้คำปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ ความหมาย : การให้คำปรึกษาแบบเน้นการสร้างแรงจูงใจ : การช่วยเหลือ Cl โดยใช้ การสื่อสารสองทาง เพื่อ สร้างแรงจูงใจ และ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ให้ส่งเสริม สนับสนุนการมีพฤติกรรมสุขภาพ : พฤติกรรมสุขภาพ ได้แก่ การออกกำลังกาย การมาตรวจตามนัด การรับประทานยาต่อเนื่อง การงดสุรา/สารเสพติด เรียนหนังสือ ฯลฯ

  39. Motivational Counseling Process 5 สรุปและวางแผน (perspective on change) ให้กำลังใจ เปิดโอกาสให้มาปรึกษาได้อีก 1 สร้างสัมพันธภาพ และ Affirmation 2 ตกลงบริการ ประเมินระดับแรงจูงใจ 4 ให้ข้อมูล/ข้อเสนอแนะ แบบมีทางเลือก/ชวนแก้ปัญหา 3 รวบรวมข้อมูล สำรวจปัญหา(ค้นหาและสนับสนุนแรงจูงใจ)

  40. แนวปฏิบัติระบบการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ (รพช) • มีระบบการคัดกรองผู้สูงอายุ/ด้วยแบบคัดกรอง 2 คำถามและ 9 คำถามของผู้สูงอายุ • มีฐานข้อมูลผู้สูงอายุที่มารับบริการในหน่วยบริการสาธารณสุข(มีจำนวนผู้สูงอายุที่คัดกรองด้วยแบบคัดกรอง 2 คำถาม และเมื่อคัดกรองด้วยแบบคัดกรอง 9 คำถามและมีคะแนนตั้งแต่ 7 คะแนนขึ้นไป..สุดท้ายคือจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจ) • มีคลินิกบริการผู้สูงอายุ(มีเฉพาะวัน/เปิดร่วมกับคลินิกอื่น) แล้วแต่บริบทของพื้นที่

  41. แนวทางพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพจิตและจิตเวช (รพช.) 1.บุคลากร 2.สถานที่ 3.ขีดความสามารถระบบบริการ

  42. กลุ่มวัยทำงานและวัยสูงอายุกลุ่มวัยทำงานและวัยสูงอายุ • กิจกรรมที่ 1 การอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากร รพช. ( 25-26 กุมภาพันธ์ 2556) • กิจกรรมที่ 2 การนิเทศงาน ลงเยี่ยมแต่ละพื้นที่ ( พฤษภาคม 2556) • กิจกรรมที่ 3 การจัดการความรู้ในการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการดูแลทางสังคมจิตใจแก่ผู้สูงอายุในคลินิก โครงการ การพัฒนาระบบส่งเสริมป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงาน-วัยสูงอายุ

  43. สวัสดี

More Related