280 likes | 413 Views
ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำ ข้อตกลงการค้าอาเซียน. นางสาวชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. เศรษฐกิจโลก. เศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง). ภาคการเงิน. ภาคการผลิต. เกษตร. อุตสาหกรรม. บริการ. ทรัพย์สินของประเทศ
E N D
ความคืบหน้าการค้าเสรีอาเซียน และผลกระทบในการจัดทำข้อตกลงการค้าอาเซียน นางสาวชุติมา บุณยประภัศร อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจมหภาค (ดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน เงินเฟ้อ ดุลการคลัง) ภาคการเงิน ภาคการผลิต เกษตร อุตสาหกรรม บริการ ทรัพย์สินของประเทศ คน+ความรู้ เทคโนโลยี ปัจจัยพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจเป็นการเชื่อมโยงส่วนต่างๆ ให้มีชีวิตร่วมกัน ดูที่ละส่วนไม่ได้ แก้ปัญหาแยกส่วนไม่ได้
ในระยะที่ผ่านมา การส่งออกเป็นภาคสำคัญที่ช่วยพยุงให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การขยายตัวของเศรษฐกิจไทย 2544 – 2551 (ประมาณการ) Export = 15.6 % GDP = 4.5 % Consumption = 2.6 % Investment = 2.3 % Gov’t = -2.7% Sources: Export from MOC, 22 Jan 2552, others from NESDB, 24 Nov.2551
ภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทยภาคการค้าระหว่างประเทศมีความสำคัญอย่างมากต่อระบบเศรษฐกิจไทย • ภายใต้กระแสโลกาภิวัตน์ ในปัจจุบัน • โลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว • ประเทศไทย ไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยวได้ • เนื่องจาก มีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด • สัดส่วนการค้าระหว่างประเทศต่อ GDP • ในปี 2551 สูง ถึง 129 % โดยแยกเป็น • การส่งออก 64 % และการนำเข้า 65% • การค้าระหว่างประเทศ จึงเป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลต่อการสร้างรายได้ และการจ้างงาน สัดส่วนการส่งออกสินค้าต่อ GDP (เฉลี่ยปี 2548-2551) 63.1% สัดส่วน(การนำเข้า)บริการที่ทำให้ไทยได้รับเงินตราจากต่างประเทศต่อ GDP (เฉลี่ยปี 2548-2551) 10.6% : ข้อมูลจาก สศช. และ ธปท. ณ ก.พ.52
อาเซียน ASEAN อาเซียน 6 สมาชิกใหม่ CLMV ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ปี 2510 ปี 2510 • ก่อตั้งเมื่อปี 2510 (1967) ครบรอบ 41 ปี (เมื่อวันที่ 8 ส.ค. 2551) • จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก 5
วิวัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจวิวัฒนาการความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ 1. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนในระยะแรก (พ.ศ. 2510-2535 หรือ ยุคของความร่วมมือในช่วง 25 ปีแรก) 2. ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจในระยะที่สอง (พ.ศ. 2535-2546 หรือ ยุคทศวรรษแห่งการดำเนินงานเขตการค้าเสรีอาเซียน) 3. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจในปัจจุบัน (พ.ศ. 2546-ปัจจุบัน หรือ ยุคของการไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
พิมพ์เขียว AEC • AEC Blueprint ประชาคมอาเซียน ปี 2558 (2015) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน(ASC) กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ตารางดำเนินการStrategic Schedule ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
โครงสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนโครงสร้างประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
AEC ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community:AEC ) 1. เป็นตลาดและฐานการผลิตร่วม 2. สร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี e-ASEAN นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี สิทธิทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น ปี 2015 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ลดช่องว่างการพัฒนา ระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย สนับสนุนการพัฒนา SMEs จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค
พันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ปี 2553 ปี 2558 ภาษี0% สินค้าในรายการลดภาษี ภาษี0% อาเซียน - 6 เวียดนาม ลาว พม่า กัมพูชา 1. เปิดเสรีการค้าสินค้า ยืนยันการลดภาษีนำเข้าตาม CEPT ยกเว้น สินค้าในSensitive Listภาษีไม่ต้องเป็น 0% แต่ต้อง <5% ไทย มี 4 รายการ ไม้ตัดดอก มะพร้าวแห้ง มันฝรั่ง กาแฟ สินค้าใน Highly Sensitive Listไม่ต้องลดภาษี มีสินค้าข้าว ของอินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์
ผลของเขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) การส่งออกของไทยไปอาเซียน และ การนำเข้าจากอาเซียน ขยายตัวมาโดยตลอด 33,429 US$ 27,155 US$
พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ยกเลิกเป็นระยะ ขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี NTBs NTBs ชุดที่ 1 NTBs ชุดที่ 2 NTBs ชุดที่ 3 ยกเลิกใน1มค.2551 (2008) ยกเลิกภายใน1มค.2552 (2009) อาเซียน5 ภายใน1มค.2553(2010) ฟิลิปปินส์ ภายใน1มค.2555(2012) CLMV ภายใน1มค.2558(2015) NTBs : Non-Tariff Barriers
พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ปี 2551 (2008) ปี 2553 (2010) ปี 2556 (2013) ปี 2549 (2006) ปี 2558 (2015) 51% 70% สาขา PIS 49% :เทคโนโลยีสารสนเทศ สุขภาพ ท่องเที่ยว การบิน 70% 70% 30% 49% 51% เพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นให้กับนักลงทุนสัญชาติอาเซียน 2. เปิดเสรีการค้าบริการ โลจิสติกส์ สาขาอื่น
พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint 3. เปิดเสรีลงทุน • ให้การปฏิบัติเยี่ยงคนชาติแก่นักลงทุนอาเซียน • การดำเนินงานตามความตกลงด้านการลงทุนฉบับใหม่ของอาเซียน (ACIA) 4. เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น • ดำเนินการตามแผนงานที่เห็นชอบโดยรัฐมนตรีคลังอาเซียน
พันธกรณีที่ต้องดำเนินการพันธกรณีที่ต้องดำเนินการ AEC Blueprint ด้านเกษตร อาหารและป่าไม้ 5. ความร่วมมือสาขาอื่นๆ • ด้านทรัพย์สินทางปัญญา • การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน(คมนาคม ITC พลังงาน) • ด้านเหมืองแร่ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • ด้านการเงิน • SMEs
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ประโยชน์จากการเปิดเสรีการค้าสินค้า บริการและการลงทุน ตลาดขนาดใหญ่ • ประชากรกว่า 570 ล้านคน • Economy of Scale • ดึงดูดการค้าการลงทุนจากภายนอกอาเซียน
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 ส่งเสริมแหล่งวัตถุดิบ • ได้ประโยชน์จากทรัพยากรในภูมิภาคอาเซียน • วัตถุดิบถูกลง ต้นทุนผลิตสินค้าต่ำลง ขีดความสามารถแข่งขันสูงขึ้น • เลือกหาวัตถุดิบ แรงงาน เทคโนโลยี และสถานที่ผลิตที่ได้เปรียบที่สุด กลุ่มที่มีวัตถุดิบและ แรงงาน กลุ่มที่มีความถนัด ด้านเทคโนโลยี กลุ่มที่เป็นฐานการผลิต ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม เวียดนาม กัมพูชา พม่า ลาว สิงคโปร์ มาเลเซีย ไทย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 เพิ่มอำนาจการต่อรอง • 10 เสียง ดังกว่าเสียงเดียว • แนวร่วมในการเจรจาต่อรองโดยเฉพาะกับประเทศคู่เจรจาต่างๆ
ให้ประโยชน์ที่มากขึ้น กว่า FTA ทวิภาคีของไทยกับประเทศคู่ค้า โดยการใช้แหล่งกำเนิดสินค้าสะสมในอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ปี 2558 FTAอาเซียน-คู่เจรจา อาเซียน – จีน ACFTA อาเซียน – ญี่ปุ่น AJFTA อาเซียน – เกาหลี AKFTA อาเซียน – ANZ (ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์) อาเซียน – อินเดีย AIFTA อาเซียน – EU • เป็นที่น่าสนใจสำหรับประเทศอื่นๆ ที่จะทำ FTA กับอาเซียน
สถานะล่าสุด FTA ของ ASEAN กับคู่เจรจา ทิศทางการเจรจา : จัดทำความตกลงอาเซียน-คู่เจรจาหลายกรอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของไทย Single Undertaking อาเซียน-ญี่ปุ่น ลงนามแล้ว อยู่ระหว่างการดำเนินกระบวนการเพื่อมีผลใช้บังคับ อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ลงนามข้อตกลง FTA อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ ในช่วงการ ประชุม Summit ครั้งที่14 เมื่อวันที่ 27 กพ. 52 แล้ว อาเซียน-EU พักการเจรจาชั่วคราว แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ ความตกลงว่าด้วย : สินค้า บริการ ลงทุน อาเซียน-จีน ใช้บังคับ 20 กรกฎาคม 2548 ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2550 อยู่ระหว่างรอการลงนาม อาเซียน-เกาหลี สินค้า / บริการ ไทยเข้าร่วมลงนามแล้ว เมื่อ 27 กพ. 52 อยู่ระหว่างการเจรจา อาเซียน-อินเดีย อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา รอลงนาม
ตัวอย่างสาขาที่มีศักยภาพและสาขาที่อ่อนไหวตัวอย่างสาขาที่มีศักยภาพและสาขาที่อ่อนไหว สาขาที่มีศักยภาพ สาขาที่อ่อนไหว • น้ำมัน (ปาล์ม ถั่วเหลือง) • โคนม/โคเนื้อ • ชา/กาแฟ • หอม/กระเทียม • ไหมดิบ • น้ำตาล • ผลิตภัณฑ์เกษตร/ยาง • แฟชั่น • ยานยนต์และชิ้นส่วน • อิเล็กทรอนิกส์ • อุปโภคบริโภค • เฟอร์นิเจอร์ • วัสดุก่อสร้าง • สินค้า • ท่องเที่ยวและภัตตาคาร • สุขภาพและความงาม • บริการธุรกิจ • ก่อสร้างและออกแบบ • การเงิน (ธนาคาร ประกันภัย) • โทรคมนาคม • ค้าปลีก-ค้าส่ง • บริการ • อุตสาหกรรมผลิตสินค้าเกษตร • อุตสาหกรรมการผลิตสินค้าแฟชั่น • อุตสาหกรรมผลิตสินค้ายานยนต์ • ICT • การทำนา • ป่าไม้ • การลงทุน
ผลกระทบ • ภาคเกษตร/อุตสาหกรรมภายในประเทศที่มีความอ่อนแอไม่สามารถแข่งขันได้ • อุตสาหกรรมที่ต้องพึ่งพาวัตถุดิบและชิ้นส่วนจากภายนอกอาเซียนจะมีต้นทุนการผลิตสูง
คำถาม? • สาขาที่ไม่พร้อมแข่งขันย่อมได้รับผลกระทบ 1) ทำไมภาครัฐยังต้องเข้าไปมีส่วนร่วมรวมไปเปิด ตลาดการค้า ไปรวมกลุ่มกับเขา 2) จะชะลอระยะเวลาการเปิดเสรีออกไปได้หรือไม่ โดยเฉพาะสาขาที่ไม่พร้อม
ติดต่อ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ มาตรการรองรับผลกระทบ • กองทุนเพื่อการปรับตัว ของภาคการผลิตและบริการ • ให้ความช่วยเหลือผู้ผลิต/ผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูป สินค้าอุตสาหกรรม และบริการ • กองทุนช่วยเหลือของกระทรวงเกษตรฯ • พรบ.มาตรการปกป้องการนำเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure)
ติดต่อ กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ แนวทางการปรับตัว • เพิ่มขีดความสามารถแข่งขัน • สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างแบรนด์ • ใช้กลยุทธ์ตลาดเชิงรุก เจาะตลาดผู้ซื้อ • พัฒนาและผลิตสินค้าตรงตามความต้องการของตลาด • กลยุทธ์ระยะยาว • นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ เช่น เทคโนโลยีสารสนเทศ • ให้ความสำคัญกับการวิจัยและพัฒนา • ศึกษาหาโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ
ติดต่อ กรมเจรจาการค้าฯ กระทรวงพาณิชย์ แนวทางการปรับตัว • ปรับปรุงเตรียมแผนรองรับสำหรับสินค้าที่ขาดศักยภาพแข่งขัน • ติดตามข้อมูลข่าวสารต่างๆ อย่างใกล้ชิด • พัฒนาเทคโนโลยี พัฒนาระบบบริหารจัดการ • หากพบมาตรการกีดกันทางการค้า แจ้งหน่วยงานภาครัฐ
www.dtn.go.thwww.thaifta.com Call Center: 0-2507-7444 ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ