470 likes | 1.05k Views
ผลกระทบด้านเสียงจากการขยายทางวิ่ง ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ. โดย นาย ธนา พันธ์ สุก สอาด นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม. เอกสารประกอบการบรรยาย วันที่ 10 สิงหาคม 2554. หน่วยงานร่วมวิจัย. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
E N D
ผลกระทบด้านเสียงจากการขยายทางวิ่งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิผลกระทบด้านเสียงจากการขยายทางวิ่งท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ โดย นายธนาพันธ์ สุกสอาด นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม เอกสารประกอบการบรรยาย วันที่ 10 สิงหาคม 2554
หน่วยงานร่วมวิจัย • กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม • กรมควบคุมมลพิษ • กรมโยธาธิการและผังเมือง • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง • สถาบันวิจัยรพีพัฒนศักดิ์ • บริษัทท่าอากาศยานไทย จำกัด (มหาชน) • บริษัทวิทยุการบินแห่งประเทศไทย จำกัด • และนักวิชาการอิสระ
วัตถุประสงค์ของโครงการวัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษาและป้องกันปัญหามลพิษทางเสียงจากท่าอากาศยาน สุวรรณภูมิในอนาคต 2. เพื่อหาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมสำหรับการแก้ปัญหามลพิษ ทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ
เดซิเบล(Decibel, dB) เดซิเบลคือ หน่วยวัดของเสียงในสเกลลอการิทึม ใช้ตัวย่อเป็น dB แหล่งกำเนิดเสียงประเภทต่างๆ ความถี่เสียง (Frequency) หูของมนุษย์ได้ยินเสียงในช่วง 20-20000 Hz
Frequency of Noise 20,000 Hz 0.01 Hz 1Hz 10 Hz 20 Hz 100 Hz 200 Hz Infrasound Audible Sounds Ultrasound Limits of human hearing Low Frequency Noise Vibration Audible Sounds 20-20,000 Hz Low Frequency Noise (LFN) 10-200 Hz
ผลกระทบด้านเสียงจากท่าอากาศยานผลกระทบด้านเสียงจากท่าอากาศยาน NEF 30 - 35 NEF 35 - 40 NEF > 40 แผนที่ :googleearth.com Environmental Research and Training Center
การจัดทำแผนที่ระดับเสียงโดยรอบโครงการการจัดทำแผนที่ระดับเสียงโดยรอบโครงการ พารามิเตอร์ ที่ใช้ Noise Exposure Forecast (NEF)
การปรับปรุงอาคารที่อยู่ในเขตที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงการปรับปรุงอาคารที่อยู่ในเขตที่ได้รับผลกระทบด้านเสียง
ค่าระดับเสียง SEL ภายในและภายนอกอาคาร ภายนอก ภายใน
ความแตกต่างของค่าระดับเสียง SEL ภายในและภายนอกอาคาร B747400
ความถี่เสียงจากเครื่องบินแบบ B747400 ภายนอกและภายในอาคาร
ปัจจุบันรองรับผู้โดยสาร 45 ล้านคนต่อปี จำนวนทางวิ่ง 2 ทางวิ่ง จำนวนเที่ยวบิน ประมาณ 700 เที่ยวต่อวัน
present past
Comparison Betweenfirst year andEIA Forecast Aircraft movements at first year 642 flights /day After operation 760 flights /day
เที่ยวบินสูงสุด 76 เที่ยวบินต่อชั่วโมง สัดส่วนการใช้ทางวิ่ง 80:20 กรณีศึกษา ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ มติ ครม. วันที่ 29 พ.ค. 50 และวันที่ 31 ส.ค. 53
Aircraft wake vortices (ลมหมุนจากเครื่องบิน) มีกำลังแรงถึง 100 ไมล์ต่อชั่วโมง กำลังของลมหมุนนี้เกิดจากปีก (wing) และลำตัว เครื่องบิน (fuselage) ที่ตัดผ่านอากาศ และจะเพิ่มมากขึ้นโดยกำลังดัน (thrust) จากเครื่องยนต์ของเครื่องบิน
แนวโน้มปัญหาในอนาคต การขยายตัวของชุมชนเพิ่มมากขึ้นบริเวณโดยรอบท่าอากาศยาน การเพิ่มขึ้นของจำนวนเที่ยวบิน ชุมชนที่อยู่อาศัยหลังปี 2544 ไม่ได้รับการเยียวยา จ่ายค่าชดเชย ท่าอากาศยานมีแผนจะขยายทางวิ่ง เส้นที่ 3 และ 4 ยังมีการอนุญาตให้ก่อสร้างบ้านเรือนในบริเวณที่ได้รับผลกระทบด้านเสียง
Suvarnabhumi Airport 129 Million passengers 4 runways 592,900 aircraft movements
ผลที่ได้จากงานวิจัย การทดสอบแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ INM 7.0b Stdev = 2.5
Aircraft Movements Unit: thousands
Passenger Movements Unit: thousands
Aircraft Mix CNA172 717200 A300-600 747-400 A380-841
สถานการณ์มลพิษทางเสียง 3 ปีที่ผ่านมา 2550 2551 2552 แสดงพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียงย้อยหลัง 3 ปี เปรียบเทียบกับพื้นที่คาดการณ์ตามมติ คณะรัฐมนตรี วันที่ 29 พฤษภาคม 2550 และวันที่ 31 สิงหาคม 2553 2550 2551 2552
Noise Exposure Forecast 2039 • 4 runways. • 592,900 aircraft movements. • 129 million passengers a year.
อาคารทั้งหมด 6,618 อาคาร ที่อยู่อาศัย 4,442 อาคาร
อาคารทั้งหมด 12,024 อาคาร ที่อยู่อาศัย 4,454 อาคาร
การก่อสร้างบ้านเรือนในพื้นที่การก่อสร้างบ้านเรือนในพื้นที่ ที่ได้รับผลกระทบด้านเสียง
การดำเนินการประชุมระดมความคิดเห็นการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิการดำเนินการประชุมระดมความคิดเห็นการจัดการปัญหามลพิษทางเสียงจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ • การประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 31 พฤษภาคม 2553 • (ปัญหามลพิษทางเสียงจากท่าอากาศยาน) • การประชุม ครั้งที่ 2 วันที่ 30 มิถุนายน 2553 • (การใช้ประโยชน์ที่ดินที่เหมาะสมกับท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) • การประชุม ครั้งที่ 3 วันที่ 4 สิงหาคม 2553 • (แนวทางที่เหมาะสมในการจัดการมลพิษทางเสียงจากอากาศยาน โดย • ใช้เครื่องมือทางกฎหมายและทางเศรษฐศาสตร์: กรณีท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ) • การประชุม ครั้งที่ 4 วันที่ 1 กันยายน 2553 • (การจัดการเชิงนโยบายภาพรวมการแก้ปัญหา) • การสำรวจความคิดเห็นของประชาชนบริเวณโดยรอบท่าอากาศยาน • สุวรรณภูมิต่อการแก้ไขปัญหาในปัจจุบันและอนาคต
Outcome of the project The land-use designation in the Bangkok Noise exposure forecast 2039 Local Regulation for residential restriction
Summary • - Noise Impact Area In the future (4 runways) • NEF 30-35 25.28 sq.km. • NEF 35-40 6.18 sq.km. • NEF > 40 0.91 sq.km. • Countermeasure for Noise reduction of Suvarnnabhumi Airport • - Noise Reduction at source. • Phase-out program. (Loudness aircraft) • - Land use planning and Management. • Noise Insulation Program (noise charge) • - Noise abatement flight procedures. • Departure /approach procedures for Noise reduction • - operation restriction. • Curfew