1 / 15

คอนกรีตในงานพิเศษ

คอนกรีตในงานพิเศษ. 203332 Concrete Technology 12 Feb 2004. Self-Compacting Concrete. คือคอนกรีตที่ไหลและอัดแน่นเข้าไปยังทุกมุมของแบบหล่อด้วยน้ำหนักของคอนกรีตเองโดยไม่ต้องมีการจี้เขย่า มีค่าการยุบไหลตัว (Slump Flow) ระหว่าง 60-78 ซม. และไม่เกิดการแยกตัวของมวลรวมหยาบ

joie
Download Presentation

คอนกรีตในงานพิเศษ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คอนกรีตในงานพิเศษ 203332 Concrete Technology 12 Feb 2004

  2. Self-Compacting Concrete • คือคอนกรีตที่ไหลและอัดแน่นเข้าไปยังทุกมุมของแบบหล่อด้วยน้ำหนักของคอนกรีตเองโดยไม่ต้องมีการจี้เขย่า • มีค่าการยุบไหลตัว (Slump Flow) ระหว่าง 60-78 ซม. และไม่เกิดการแยกตัวของมวลรวมหยาบ • คอนกรีตชนิดนี้มีปริมาณวัสดุเชื่อมประสานมากกว่าคอนกรีตปกติด้วยการผสม PFA (Pulverized Fuel Ash) GGBS (Ground Granular Blast Furnace Slag) ผงหินปูน(Lime Stone Powder) เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติของเนื้อซีเมนต์เพสท์

  3. มีการเติมน้ำยา Superplasticizerเพื่อเพิ่มความสามารถในการไหลเข้าแบบของคอนกรีต • อัตราส่วนระหว่างน้ำต่อวัสดุยึดประสาน(water/binder ratio) ต้องเหมาะสม ถ้าอัตราส่วนนี้มากเกินไปจะก่อให้เกิดการแยกตัว (Segregation) แต่ถ้าน้อยเกินไปจะทำให้เกิดการติดขัดขณะไหลผ่านช่องระหว่างเหล็กเสริม

  4. Marine Concrete • คอนกรีตสำหรับชายฝั่งทะเลต้องพิจารณาความสามารถในการต้านการซึมผ่านของคลอไรด์และการต้านทานการกัดกร่อนของซัลเฟตและความสามารถในการต้านทานการขัดสีเข้าด้วยกัน • โดยปกติเหล็กเสริมจะมีชั้นฟิล์มออกไซด์บางๆ (Protective Passivity Layer)เคลือบผิวอยู่ทำให้ไม่เกิดเป็นสนิม แต่คลอไรด์ไอออนจะทำลายฟิล์มดังกล่าว

  5. ทำอย่างไรให้โครงสร้างทนทานต่อน้ำทะเลทำอย่างไรให้โครงสร้างทนทานต่อน้ำทะเล • สิ่งสำคัญในการก่อสร้างโครงสร้างสำหรับสภาพแวดล้อมบริเวณชายฝั่งทะเลมีอยู่หลายประการคือ การออกแบบโครงสร้าง การออกแบบวัสดุ และวิธีการก่อสร้างได้แก่ • การกำหนดระยะหุ้มเหล็กเสริมให้เพียงพอ • การอัดแน่นคอนกรีต • การทำรอยต่อให้เหมาะสม เช่นไม่ให้เกิด Cold Joint • การเลือกใช้คอนกรีตที่ทนทานต่อน้ำทะเล

  6. คอนกรีตที่ทนทานต่อน้ำทะเลคอนกรีตที่ทนทานต่อน้ำทะเล • ปรับปรุงโครงสร้างภายในให้มีความทึบน้ำสูง • เพิ่มความสามารถในการจับยึดคลอไรด์ให้กับคอนกรีต (Chloride Binding Capacity) • ออกแบบส่วนผสมให้ง่ายต่อการอัดแน่น และมีความสามารถในการต้านทานต่อแรงกระแทกและขัดสีจากแรงคลื่นหรือกรวดทรายได้ดีขึ้น

  7. คอนกรีตทนซัลเฟต (Sulphate Resisting Concrete) • บริเวณที่พบซัลเฟตมากและทำอันตรายต่อคอนกรีตอยู่ในดิน หรือน้ำใต้ดินบางบริเวณ น้ำเสียจากบ้านเรือน จากโรงงานอุตสาหกรรม หรือโรงงานผลิตสารเคมีบางประเภท • การออกแบบส่วนผสมคอนกรีตให้สามารถต้านทานการกัดกร่อนของซัลเฟตต้องพิจารณาปัจจัยดังต่อไปนี้ • ปริมาณรวมของ C3A Ca(OH)2 • อัตราส่วน W/B และปริมาณซีเมนต์ (ส่งผลไปยังการซึมผ่านของซัลเฟตอิออน)

  8. Ecocement • Ecocement is a revolutionary new type of cement that uses municipal waste incineration ash and sewage sludge as main raw materials. • Ecocement has been evaluated as a ''global environmental preservation technology for the 21st century.

  9. Ichihara Ecocement Plant

More Related