E N D
“….ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทำจากรายได้ 200 - 300 บาทขึ้นไป เป็นสองหมื่นสามหมื่นบาท คนชอบเอาคำพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ทำเป็น Self - Sufficiency มันไม่ใช่ความหมาย ไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self - Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจำกัดเขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไปเขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Self - Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่และยังใส่เนคไทเวอร์ซแช่อันนี้ก็เกินไป...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล 17 มกราคม 2544 ของ ……………………………………….. เลขที่………...ชั้น……………
“….ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียง ความหมายคือ ทำจากรายได้ 200 - 300 บาทขึ้นไป เป็นสองหมื่นสามหมื่นบาท คนชอบเอาคำพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือ ทำเป็น Self - Sufficiency มันไม่ใช่ความหมาย ไม่ใช่แบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเป็น Self - Sufficiency of Economy เช่น ถ้าเขขาต้องการดูทีวี ก็ควรให้เขามีดู ไม่ใช่ไปจำกัดเขาไม่ให้ซื้อทีวีดู เขาต้องการดูเพื่อความสนุกสนาน ในหมู่บ้านไกลๆ ที่ฉันไปเขามีทีวีดูแต่ใช้แบตเตอรี่ เขาไม่มีไฟฟ้า แต่ถ้า Self - Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุ่มเฟือย เปรียบเสมือนคนไม่มีสตางค์ไปตัดสูทใส่และยังใส่เนคไทเวอร์ซแช่อันนี้ก็เกินไป...” พระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ พระตำหนักเปี่ยมสุข วังไกลกังวล 17 มกราคม 2544 ของ ……………………………………….. เลขที่………...ชั้น……………
“.... ให้พอเพียงนี้ก็หมายความว่า มีกินมีอยู่ ไม่ฟุ่มเฟือยไม่หรูหราก็ได้ แต่ว่าพอ แม้บางอย่างอาจจะดูฟุ่มเฟือย แต่ถ้าทำให้มีความสุข ถ้าทำได้ก็สมคารที่จะทำ สมคารที่ที่จะปฏิบัติ อันนี้ก็ความหมายอีกอย่างของเศรษฐกิจ หรือระบบพอเพียง...พอเพียงนี้อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูหราก็ได้ แต่ว่าต้องไม่เบียดเบียนคนอื่น ต้องให้พอประมาณตามอัตภาพ พูดจาก็พอเพียง ทำอะไรก็พอเพียง ปฏิบัติตนก็พอเพียง...” พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ “ ...คนเราถ้าพอในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อย ก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุกประเทศมีความคิด อันนี้ไม่ใช่เศรษฐกิจ มีความคิดว่าทำอะไรต้องพอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่เป็นสุข พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ “...ทุกคนจำเป็นต้องหมั่นใช้ปัญญาพิจารณาการกระทำของตน ให้รอบคอบอยู่เสมอ ระมัดระวังทำการทุกอย่างด้วยเหตุผล ด้วยความมีสติ และด้วยความรู้ตัว เพื่อเอาชนะความชั่งร้ายทั้งมวลให้ได้โดยตลอด และสามารถก้าวไปถึงความสำเร็จที่แท้จริง ทั้งในการงานและการครองชีวิต...” พระบรมราโชวาทในพิธีประราชทานปริญญาบัติและอนุปริญาบัตร ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๑๖
…………………………………………………………………..………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3 ห่วง 2 เงื่อนไข : พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี มีความรู้ มีคุณธรรม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงคือ ปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะเป็นแนวทางการดำเนินชีวิต แก่พวกเราชาวไทยมานานกว่า ๓๐ ปี และภายหลังที่เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ “ฟองสบู่แตก” ในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ พระองค์ได้ทรงเน้นย้ำให้พวกเราใช้เป็นแนวทางแก้ไข เพื่อให้ประเทศไทยรอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์ และความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในทุกๆด้าน เศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักที่เราคนไทยทุกคน ทุกระดับสามารถนำไปปฏิบัติได้ ไม่ใช่เฉพาะเกษตรกร ชาวไร่ ชาวนา อย่างที่หลายคนเข้าใจ แต่มายถึงทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ทุกศาสนา ทุกอาชีพ เราสามารถนำไปปรับใช้ให้เหมาะกับตนเองได้ในทุกๆเรื่อง ทั้งการดำเนินชีวิตประจำวัน การศึกษาเล่าเรียน หรือทำงานในสาขาใดๆ เศรษฐกิจพอเพียง ไม่ได้ปฏิเสธทุนนิยม และไม่ได้บอกให้เราอยู่อย่างซอมซ่อ ไม่ได้ปฏิเสธความร่ำรวย ไม่ใช่การปิดประเทศเลิกค้าขาย ไม่ใช่ความเชยหล้าหลัง ไม่ได้ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงลงสู่สิ่งใหม่ๆ แต่ เป็นแนวคิดเพื่อให้เราใช้ ปัญญา ปรับตัวให้เข้ากับกระแสของการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะพอดี เพื่อก้าวหน้าที่สมดุล มั่นคง และยั่งยืน สรุปปรัชญาเศรษฐกิจพอพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข เศรษฐกิจพอเพียง สามรถนำไปใช้เป็นเครื่องมือสำคัญในการวางแผนและการบริหารจัดการ ดังนั้นจึงให้ความสำคัญกับการสร้างรากฐานทาง เศรษฐกิจ และสังคมให้เข้มแข็ง รักษาความสมดุลของทุน และทรัพยากรในมิติต่างๆ เน้นการพัฒนาอย่างค่อยเป็นค่อยไป เป็นขั้นเป็นตอน เพื่อให้เรามีความเข้มแข็ง ให้เรารู้เท่ากัน ให้เรามีความพร้อมที่จะออกไปแข่งขันให้เราก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ดังนั้น หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จึงเน้นการปฏิบัติที่ ไม่ประมาท นั่นคือ เน้นให้เราดำเนินชีวิตบน “ทางสายกลาง” ก็คือ ความพอเหมาะพอดี ไม่น้อยเกินไป ไม่สุดโต่ง ไม่โลภมาก ไม่ฟุ้งเฟื้อจนเกินฐานะ แต่ก็ไม่ใช่ตระหนี่ถี่เหนียวหรือประหยัดจนขาดแคลน ถ้าเราจะนำหลักปรัชญานี้ไปใช้ เราอาจจะจำด้วยหลักง่ายๆ คือ ๓ ห่วง ๒ เงื่อนไข อันประกอบไปด้วย พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และมีความรู้ มีคุณธรรม ซึ่งจะนำไปสู่ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ก้าวหน้าอย่างสมดุล มั่นคง ยั่งยืน และจะนไปสู่ประโยชน์สุขของคนไทยในที่สุด ตามรูปที่วาดขึ้นเป็นห่วง ๓ ห่วงคล้องกันก็เพราะปัจจัยสำคัญทั้ง ๓ ข้อ ควรพิจารณาพร้อมๆกัน และที่เจาะจงให้เป็นฐานใหญ่ก็คือ เงื่อนไขก็เพราะจงต้องเข้ามาเป็นพื้นฐานที่สำคัญในทุกๆเรื่อง
เคร่งเครียดเกินไป ต้องรู้จักพักผ่อน มีสันทนาการบ้างซึ่งก็ควรมุ่งไปทางด้านกีฬา ศิลปะที่สร้างสรรค์ และรู้จักให้การช่วยเหลือผู้อื่นด้วย ในการทำธุรกิจ แต่ละองค์กรก็จะมีความพอดีที่ต่างกันถ้าเป็นองค์กรใหญ่ จะลงทุนทำอะไร ผู้บริหารต้องรู้ว่าแค่ไหนจึงจะลงทุนแล้วครอบคลุมกับเนื้องาน หรือ ทั่วถึงคนในองค์กร เพราะถ้าน้อยเกินไปก็จะไม่สัมฤทธิ์ผล แต่ถ้าเป็นองค์กรขนาดเล็กๆ การทำตามกำลังทีมีอยู่ จะทำให้ม่ต้องแบกภาระมากมาย เกิดการควบคุมงานทีทั่วถึงกว่า เกิดประสิทธิภาพ และประสบความสำเร็จได้มากกว่า ความมีเหตุผล ความมีเหตุผลนั้น เราต้องคิดทบทวนอย่างรอบคอบ ต้องพิจารณาจากเหตุทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง และยังต้องคำนึงถึงผลที่ตามมาด้วย คำว่า “อยากได้” “ใครๆเขาก็มีกัน” “กำลังอินเทรนด์” “มันเป็นแฟชั่น” “ไม่มีแล้วอายเขาแย่เลย” คำเหล่านี้คือข้ออ้างของคนประเภทวัตถุนิยม เป็นความฟุ้งเฟ้อ ไม่ถือเป็นเหตุผลของคนพอเพียง เนื่องเพราะคนพอเพียงจะคำนึงถึงประโยชน์มากกว่ารูปแบบ “เราต้องลงทุนในเมกะโปรเจ็คต์ เพื่อกระตุ้นตัวเลข เศรษฐกิจ และความสนใจลงทุนของชาวต่างชาติ” เป็นเหตุผลของเศรษฐกิจแบบทุนนิยมทั่วไป ขณะที่ “เราต้องลงทุนในโครงการนี้แม้จะเป็นเมกะโปรเจ็คต์ ทั้งนี้เพื่ออำนวยความสะดวก และเป็นประโยชน์แก่สาธารณชน” นี่ต่างหากจึงจะเป็นเหตุผล ที่แข็งแรงของเศรษฐกิจแบบพอเพียง มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ภูมิคุ้มกัน คือ การรู้จักจัดการกับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อม เพื่อรับกับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น เพราะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นอันมากที่อยู่นอกเหนือการควบ-คุมของเราเพราะอนาคตคือความไม่แน่นอน เราไม่อาจรู้ว่าสถานการณ์ของโลกจะเปลี่ยนไปอย่างไร เศรษฐกิจจะผันผวนไปแค่ไหน ความต้องการของตลาดจะเปลี่ยนไปอย่างไร กระทั่ง เราไม่อาจรู้ได้ว่า เราจะเจ็บป่วยเมื่อไหร่ หรือ โชค จะเข้าข้างเราหรือไม่ ภูมิคุ้มกัน จะทำให้เราไม่ประมาท ทำให้เรารู้สึกที่จะวางแผนที่ดีในวันนี้ เพื่อวันข้างหน้า ทำให้เรารู้จักหาทางหนีทีไล่ มีแผนสำรองเพื่อการแก้ไขปัญหาที่หลากหลาย ภูมิคุ้มกันสามารถป้องกันความเสี่ยงได้ในหลากหลายรูปแบบ ในแง่ร่างกาย ถ้าเรียนหนัก ทำงานหนัก ก็ต้องพักผ่อน ให้พอ กินอาหารที่มีประโยชน์ เพื่อจะได้แข็งแรง ไม่เจ็บป่วย ในแง่การเงิน ต้องมีเงินออมไว้เผื่อใช้ยามฉุกเฉิน ยามเจ็บไข้ได้ป่วย หรือ ออมไว้เพื่อลงทุนเพิ่มเติม หรือเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ ในแง่สังคม เราต้องมีเพื่อน มีคนรู้จัก เพื่อการช่วย เกื้อกูลกันได้ในอนาคต การพึ่งพาตนเองให้มากที่สุดนั้น นับว่าเป็นภูมิคุ้มกันที่ดียิ่ง ทำให้ตัวเรามีความแข็งแรง ชุมชนและประเทศ มีความเข้มแข็งเพียงพอที่จะรับกับสถานการณ์ต่างๆ รวมถึงการที่จะออกไปสู้กับโลกภายนอกด้วย การตัดสินใจและการจะทำอะไรให้อยู่ในระดับพอ-เพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู้และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ความรู้ คือ ความรอบรู้ ในสิ่งที่จะทำอย่างถ่องแท้ และรอบด้าน คือ ความรอบคอบ ที่จะนำความรู้มาพิจารณา เพื่อวางแผน ไม่หวือหวา หุนหันพลันแล่น คือ ความระมัดระวัง ใช้ความรู้ให้เหมาะกับกาละ และเทศะ คนจะพอเพียงได้ต้องมีความรู้ในวิชาการต่างๆ ที่ เกี่ยวข้อง กับสิ่งที่ทำอย่างรอบด้าน ยิ่งรู้ลึกรู้จริง ก็ยิ่งดีต่อการปฏิบัติ หากจะทำธุรกิจ ก็ต้องศึกษาธุรกิจนั้นๆ จนกระจ่าง จนรู้จริง เช่น ทำอย่างไร มีบุคลากรไหม ตลาดเป็น อย่างไร มีคู่แข่งมากไหม หาลูกค้าอย่างไร จะผ่าน อุปสรรคอย่างไร ถ้าเราจะทำอะไรสักอย่างแค่เพราะเห็นคนอื่นเขาทำแล้วประสบความสำเร็จ เราก็จะ ล้มเหลวตั้งแต่ต้น คุณธรรม หมายถึง ความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิต รู้จักการแบ่งปัน ไม่โลภ และไม่ตระหนี่ เป็นคนเก่ง อย่างเดียวไม่พอ ต้องเป็นคนดีด้วยความเก่ง และ ความดีของราจะเอื้อประโยชน์แก่ตัวเรา และ สังคม คุณธรรม คือ ศักดิ์ศรีที่จะทำเกิดความภาคภูมิใจ คุณธรรมของเราก็จะค้ำจุนตัวเราเองและคนรอบข้าง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ คำตอบของการ อยู่รอด และหนทางสู่ความสุขของคนไทยทุกคนในวันนี้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข จะอยู่ในจิตสำนึกของเรา และ นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับตนเองอย่างจริงจัง ก่อนตัดสินใจทำการสิ่งใด ทั้งการงาน และการดำรง ชีวิต ควรพิจารณาถึง 3 ห่วงหลัก ดังนี้ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไป และไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น ความพอดีของแต่ละคน แต่ละครอบครัว แต่ละองค์กรย่อมไม่เหมือนกัน ไม่เท่ากัน เราต้องประมาณรู้ของเราเองว่า อัตภาพของเราอยู่ตรงไหน สถานภาพ ฐานะการเงิน และความสามารถของเรามีแค่ไหน ง่ายๆ ก็คือ เราต้องรู้กำลัง รู้ทุนของเราเอง จะทำอะไรก็แล้วแต่ จะซื้อ หรือจะลงทุน ก็ควรทำตามที่กำลังของเรามี และไม่เดือดร้อนตนเอง คือ ไปกู้ยืมหนี้สินมากมายจนเกินฐานะของตนเอง ถ้าคนรวยจะซื้อรถราคาแพงก็ย่อมทำได้ และถ้ามันพอประมาณสำหรับเขาแต่ในขณะที่คนฐานะปานกลาง จะซื้อรถก็ต้องคิดว่ามันพอเหมาะกับกำลังของตน คนที่ทำงานแล้ว หาเงินได้ด้วยตนเอง เก็บออมเงินไว้พอสมควร หากเขาตัดสินใจซื้อกระเป๋าสวนหรูมาถือก็ไม่น่าจะเป็นอะไร ถ้าเขาไม่ได้ไปเบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่น แต่ถ้าเด็กวัยรุ่นแอบเจียดเงินค่าเทอมมาซื้อกระเป๋า สวยหรูเพื่อถือไปอวดเพื่อน ก็คงไม่เหมาะ ไม่พอ – ประมาณวัยรุ่นต้องตระหนักว่า เงินที่ใช้อยู่นั้นเป็นทุนที่เกิดจากหยาดเหงื่อของพ่อแม่ และควรใช้ไปในทางที่เกิดประโยชน์กับการศึกษาซึ่งจะเป็นหลักของตนในอนาคต ในขณะเดียวกันวัยรุ่นก็ควรรู้จักแบ่งเวลาให้ถูกต้องพอประมาณกับสิ่งที่ตนกำลังทำก็ไม่ควรเขม็งเกลียว
Sufficiency Economy “Sufficiency Economy”is a philosophy bestowed by His majesty the King to his subjects through royal remarks on many occasions over the past three decades. The philosophy provides guidance on appropriate conduct covering numerous aspects of life. After the economic crisis in 1997, His Majesty reiterated and expanded on the “Sufficiency Economy”in remarks made in December 1997 and 1998. The philosophy point the way for recovery that will lead to a more resilient and sustainable economy, better able to meet the challenges arising from globalization and other changes. Philosophy of the “Sufficiency Economy” “Sufficiency Economy” is a Philosophy that stresses the middle path as an overriding principle for appropriate conduct by the populace at all levels. This applies to conduct starting from the level of the families, communities as well as the level of nation in development and administration so as to modernize in line with the forces of globalization. “Sufficiency”means moderation, reasonableness, and the need of self-immunity for sufficient protection from impact arising from internal and external changes. To achieve this, an application of knowledge with due consideration and produce is essential. In particular great care is needed in the utilization of theories and methodologies for The environment; and not only in the short term, But the long also. This idea of reasonableness thus includes accumulated knowledge and experience, along with the analytic capability, self-awareness, foresight, compassion and empathy. Besides these three components, two other conditions are needed to make the principle of Sufficiency Economy work: knowledge and integrity. Knowledge – means something close to wisdom in English as it encompasses accumulating information with the insight to understand its meaning and the care or prudence needed to put it to use. Integrity – means virtue, ethical behavior, honesty and straightforwardness, but also tolerance, perseverance, a readiness to work hard and a refusal to exploit others. planning and implementation in every step. At the same time, It is essential to strengthen the moral fibre of nation, so that everyone, businessmen at all levels, adheres fist and foremost to the principles of honesty and integrity. In addition, a way of life based on patience, perseverance, diligence, wisdom, and prudence is indispensable to create balance and be able to cope appropriately with critical challenges arising from extensive and rapid socioeconomic, environmental, and cultural changes in the word. [Reference: Unofficial translation. A working definition complied from remarks made by His Majesty the King on various occasions and approved by His Majesty the King on various occasions and approved by His Majesty and sent by His Majesty’s Principle Private Secretary to the NESDB on November 29, 1999] The Meaning of the Three Components Moderation – is closely linked to the idea of sufficiency. In Thai as in English, the word for sufficiency pho phiang) has two meanings: enough in the sense of not too little, and enough in the sense of not too much. It conveys the idea of middle way between want and extravagance, between backwardness and impossible dreams. It implies both self-reliance and frugality. Reasonableness – means both evaluating the reasons for any action, and understanding its full consequences – not only on oneself, but on others, the society. and Self-immunity – means having built-in resilience, and the ability to withstand shocks, to adjust to external change, and to cope with events that are unpredictable or uncontrollable. It implies a foundation of self-reliance, as self-discipline. Sufficiency Economy Philosophy These elements clearly overlap and interlock Reasonableness indicates moderation. Moderation builds self-immunity. Self-immunity is a requisite for reasonableness. They are not separate items but a trio. Graphically they can be shown as overlapping spheres. Reference: Thailand Human Development, United Nations Development Programme (UNDP), 2007
แต่หากคำตอบของคุณมีเครื่องหมาย x (ผิด) แม้เพียงข้อเดียว คุณน่าจะคิดทบทวนใหม่ ลองเปลี่ยนแปลงบางอย่างหรือหาทางปรับแก้ไขให้ลงตัวก่อน แล้วจึงค่อยตัดสินใจใหม่อีกครั้ง ในการค้นหาคำตอบแต่ละหัวข้อ คุณควรคิดทบทวนด้วยความเป็นจริ อย่าเข้าข้างตัวเองมากเกินไป อย่าใช้อาราณ?ตัดสิน ไม่เช่นนั้น ผลการตัดสินใจของคุณอาจผิดพลาด ถือเป็นการใช้ 3 ห่วง 2 เงื่อนไขที่ไม่ถูกต้อง ฝึกใช้หลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไขแบบง่ายๆ ด้วยตัวคุณเอง เพียงนึกถึงสิ่งที่คุณอยากจะทำหรืออยาก จะซื้อแล้วเขียนลงในช่องสิ่งที่ปรารถนา จากนั้น ค้นหาคำตอบว่าสิ่งนั้น พอประมาณกับตัว คุณเองไหม มีเหตุผลหนักแน่นแค่ไหน มีภูมิคุ้มกันหรือยัง ตัวคุณเองมีความรู้เกี่ยวกับสิ่งนั้นไหมและมีคุณธรรม หรือไม่ ทำเครื่องหมาย (ถูก) หรือx (ผิด) ไว้ในห่วงกลม หากคำตอบของคุณมีเครื่องหมาย (ถูก) ครบทุกข้อ คุณน่าจะทำสิ่งนั้นได้ หรือ ตัดสินใจซื้อได้ ผลการตัดสินใจ หมายเหตุ สิ่งที่ปรารถนา พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ มีคุณธรรม . . P P O P ซื้อมือถือใหม่ P คิดใหม่ ใช้อินเตอร์เนตบนมือถือไม่เป็น ลองเปลี่ยนรุ่นดีกว่า P P P P อยากเรียนวิศวะ P คิดถูกแล้ว ต้องเตรียมตัวให้ดี จะได้ไม่ผิดหวัง P P P P ขยายร้านอาหาร O ชะลอไว้ก่อน ลงทุนมากไป ได้กำไรไม่คุ้มทุน
ผลการตัดสินใจ หมายเหตุผลการตัดสินใจ หมายเหตุ สิ่งที่ปรารถนา พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ มีคุณธรรม . .
ผลการตัดสินใจ หมายเหตุผลการตัดสินใจ หมายเหตุ สิ่งที่ปรารถนา พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน มีความรู้ มีคุณธรรม . .
ผอ. ปรีชา มีบุญ ชุมชน/ชาวสวน กรรมการสถานศึกษา ปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าของธุรกิจ ครูโรงเรียนสุนทรภู่พิทยา BE SPSS GENERATION