500 likes | 1.28k Views
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น ( อบต. /เทศบาล). สรุปภาพรวม การดำเนินงานกองทุนฯ. - สปสช. โอน 40 บ. / หัว อบต./เทศบาล สมทบไม่น้อยกว่า 20-50 %. ส่งเสริมสุขภาพ.
E N D
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น (อบต./เทศบาล)
สรุปภาพรวมการดำเนินงานกองทุนฯสรุปภาพรวมการดำเนินงานกองทุนฯ - สปสช. โอน 40 บ./หัว อบต./เทศบาล สมทบไม่น้อยกว่า 20-50% ส่งเสริมสุขภาพ - ทำข้อตกลง อบต./เทศบาล ที่ผ่านเกณฑ์ - ตั้งกรรมการบริหารกองทุน - พัฒนาศักยภาพ กก. บริหาร ทีมแกนนำ จว. - ทำแผนสุขภาพชุมชน- ติดตาม ประเมินผล ป้องกันโรค กองทุนหลักประกันสุขภาพอบต./เทศบาล ฟื้นฟูสมรรถภาพ ปฐมภูมิเชิงรุก คณะกรรมการบริหารกองทุน ผู้ประกอบ อาชีพเสี่ยง แม่และเด็ก ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ คนพิการ แผนสุขภาพชุมชน ประชาชน ชุมชนมีส่วนร่วม
อบต./เทศบาลสมทบ ตามข้อตกลง งบส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค สปสช. 45 บาท/ประชากร • อบต.ขนาดเล็ก 30 % กองทุนหลักประกันสุขภาพ (ระดับท้องถิ่น) • อบต.ขนาดกลาง 40 % รายได้อื่นของกองทุน • อบต.ขนาดใหญ่ 50 % • ดอกเบี้ย • เทศบาลตำบล 50 % ประชาชนร่วมสมทบ • เงินบริจาค • เทศบาลเมือง 60 % • เงินจากกองทุนอื่นๆ • ในชุมชน • เทศบาลนคร 60 % (ปรับปี ๒๕๕๗)
ยุทธศาสตร์ร่วมในการขับเคลื่อนกองทุนฯยุทธศาสตร์ร่วมในการขับเคลื่อนกองทุนฯ (ระดับเขต.,จังหวัด,อำเภอ,พื้นที่) ๑.เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาระบบสุขภาพตำบล ๒. พัฒนาศักยภาพทุกภาคส่วนให้มีศักยภาพบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพ ๓. พัฒนาระบบการสื่อสารด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ๔. การติดตาม ประเมินผล
(ร่าง) ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล ดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๖
สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖
สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖
สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖
สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖
สรุปประเด็นร่างประกาศฯ ปี ๕๖ สำนักกฎหมาย สปสช.
วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๑.เพื่อสนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ หรือสถานบริการ หรือหน่วยงานสาธารณสุข ( เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล )ในพื้นที่โดยเน้นเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต เพื่อให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มคนพิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยง และกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ที่อยู่ในพื้นที่ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๒.เพื่อสนับสนุนให้กลุ่มประชาชน หรือองค์กรประชาชน หรือหน่วยงานอื่นๆ( เช่น โรงเรียน ให้จัดกิจกรรมด้านสาธารณสุขเสริมได้)ในพื้นที่ ได้จัดทำแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ หรือการป้องกันโรค ให้แก่สมาชิกหรือประชาชนในพื้นที่ และกรณีมีความจำเป็นต้องสนับสนุนเป็นค่าครุภัณฑ์ให้สนับสนุนได้ในวงเงินไม่เกิน ๕,๐๐๐ บาทต่อแผนงาน หรือโครงการ หรือกิจกรรมครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาของ กลุ่มประชาชน หรือองค์กรประชาชนหรือหน่วยงานอื่นๆที่ได้รับการสนับสนุนนั้นๆ
วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๓.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพ และการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุกเป็นเงินไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับของกองทุนในแต่ละปี ให้กับศูนย์เด็กเล็กในชุมชน หรือศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ ในชุมชน ตามหลักเกณฑ์ที่ สปสช.กำหนด
วัตถุประสงค์/บทบาทกองทุนฯ ในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ (ตามประกาศใหม่ปี ๕๖) ๔. เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ ๑๕ ของเงินรายรับกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปี และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน ๒๐,๐๐๐ บาทต่อหน่วย และครุภัณฑ์ที่จัดหาได้ ให้อยู่ในความดูแลและบำรุงรักษาขององค์การบริหารส่วนตำบลหรือเทศบาล
จุดเน้นงานกองทุนฯ ปี ๒๕๕๗ ๑.การบริหารจัดการภาพรวมมีประสิทธิภาพ ๒. การจัดทำรายงานครบถ้วน เป็นปัจจุบัน ๓. ขยายงาน Long Term care และการดูแลพัฒนาการเด็กในศูนย์เด็กเล็ก ในทุกพื้นที่ ๔. สนับสนุนการขับเคลื่อนDHS และODOP อำเภอ ๕. เชื่อมต่องานระบบสุขภาพชุมชนกับองค์กร ส. ** อบต./เทศบาล ที่มีความพร้อมขยายงานรักษาพยาบาล
บทบาทสาขาจังหวัด/อำเภอ/ศูนย์เรียนรู้บทบาทสาขาจังหวัด/อำเภอ/ศูนย์เรียนรู้ ๑. สร้างและพัฒนาศักยภาพวิทยากรกองทุนระดับจังหวัด ๒. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุนฯทุกคน (อบรม เป็นวิทยากร สร้างความรู้ ความเข้าใจ) ๓. เป็นพี่เลี้ยง นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน ๔. อบรมให้ความรู้การจัดทำรายงานผ่านโปรแกรมออนไลน์ ๕. เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับอำเภอ จังหวัด ๖. กิจกรรมอื่นๆตามความเหมาะสมของจังหวัด/อำเภอ
สรุปการดำเนินงานกองทุน จังหวัดนครนายก การประเมินผลการดำเนินงานกองทุนสุขภาพเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด+อำเภอ 2556 ประเมินผลกองทุน ด้านบริหาร 1. รายงานการเงิน / กิจกรรมครบ 4 ด้าน ร้อยละ 77.77 2. อปท.โอนเงินสมทบตามเกณฑ์ 3. อบรมพัฒนาคุณภาพกองทุน ( 22 มี.ค. 2556) - โปรแกรมการบริหารจัดการ - ขับเคลื่อนอย่างไร ให้มีกฎหมายคุ้มครอง โดยศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ + อ.สมนึก แช่มช้อย 4. เพิ่มศักยภาพ..ศูนย์เรียนรู้ระดับอำเภอ
ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 (ต่อ) ด้านผลงาน 1. กองทุนศักยภาพดีเด่น , grade A+ (90-100) 8 แห่ง 2. กองทุนศักยภาพดี , gradeA (70-89) 27 แห่ง 3. กองทุนศักยภาพปานกลาง , grade B (50-69) 9 แห่ง 4. กองทุนที่ต้องเร่งพัฒนา, grade C ( 0- 49 ) ** 1 แห่ง ปัจจัยขัดขวาง - ผู้นำ และ เลขากองทุนมารับงานใหม่ - คณะกรรมการไม่เข้มแข็ง
ประเมินผลการดำเนินงานกองทุน 2556 (ต่อ) ปัจจัยแห่งความสำเร็จ - ผู้นำ รู้และเข้าใจกองทุน - การทำงานเป็นทีม - การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ท้องถิ่น จนท. ประชาชน องค์กรในพื้นที่
งบประมาณกองทุนตำบล/เทศบาล ปี 2549 - 2556
จำนวนโครงการและงบประมาณ จำแนกตามประเภท ปี 2549 - 2557
ร้อยละการใช้งบประมาณแยกประเภทกิจกรรม จำนวน 77,526,565.บาท ( ณ 29 พย. 2556)
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินงานกองทุน ณ อบต.พระอาจารย์ อ.องครักษ์
กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น อำเภอองครักษ์ ค้นพบ ปัจจัยแห่งความสำเร็จ ผู้นำมีวิสัยทัศน์ด้านสุขภาพ ทีมคณะกรรมการเข้มแข็ง (รู้ เข้าใจ หลักบริหารกองทุน ) เครือข่ายสุขภาพในชุมชนเข้มแข็ง อสม./ผู้สูงอายุ/จิตอาสา บันทึกโปรแกรมการบริหารจัดการกองทุนถูกต้อง ครบถ้วน ค้นหานวัตกรรมเพื่อแก้ปํญหาที่เกิดในพื้นที่ (รอกน้อยพลิกชีวิต)
2.การจัดสรรงบ P&P สำหรับระดับพื้นที่(PPA)ปี 2557
การบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี 2557 P&P Capitation ( 288.88 บาท x ปชก. ทุกสิทธิ 64.871ล้านคน) คำนวณจาก 383.61 บาท/ปชก.UC 48.852 ล้านคน (1) NPP & Central procurement (23 บ./คน) (4) สนับสนุนและส่งเสริม (7.50 บ./คน) (3) P&P Basic Services (192 บ./คน) (2) P&P Area Health services (66.38 บ./คน) กองทุนฯท้องถิ่น (40+5 บ./คน) หักเงินเดือน Capitation +workload (162 บ./คน) Quality Performance (20 บ./คน) P&P Dental (10 บ./คน) เขต/จังหวัด (21.38 บ./คน+ส่วนที่เหลือจากจัดสรรกองทุนฯท้องถิ่น) หน่วยบริการ/อปท.,/ หน่วยงานต่างๆ กรณี สปสช.เขต 13 (กรุงเทพมหานคร) ให้สามารถบูรณการการบริหารงบ (2) และ (3) เพื่อให้เกิดผลผลิต ผลลัพธ์ตามที่กำหนด เนื่องจากไม่มีสาขาจังหวัดและบริบทพื้นที่แตกต่าง
กรอบแนวทางบริหารงบบริการP&P ปี 2557P&P สำหรับระดับพื้นที่(PPA) จำนวน 66.38 บาทต่อคน เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับ
การบริหารงบบริการ P&P ปี 2557ส่วนที่ (2) P&P บริการระดับพื้นที่ 66.38 บาท/คน (2.2) ส่วนที่เหลือบริหารโดยสาขาเขต/จังหวัด21.38 บาท/คน
ผลการอนุมัติ PPA 2 บาทเป็นการสนับสนุนงาน Service plan ด้านบริการที่เกี่ยวข้องกับ PP (ยุทธศาสตร์เขตเครือข่ายบริการที่ 4 จำนวน 10,684,736 บาท) 1.38 บาทในการสนับภาคประชาชน/เอกชน/จังหวัด/พื้นที่/เขต(โครงการ 7,372,467.84 บาท)
รายการจัดสรรงบ PPA ให้กับสาขาจังหวัด ปี 2557
3. งบตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการ ปฐมภูมิ และงบส่งเสริมสนับสนุนการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557
กรอบงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงานกรอบงบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพและผลงาน บริการปฐมภูมิ ปี 2557 (37 บาท/ปชก.UC) งบจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ PP (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) 1 งบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ( 32 บ./ปชก.UC) 2.งบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ( 5 บ./ปชก.UC) บริหาร โดย สปสช.เขต 106,847,360 บาท (20 /ปชก.ทุกสิทธิ์) บริหารโดย สปสช.เขต 105,375,694 บาท ( 32 บ./ปชก.UC) บริหารโดย สปสช.เขต 13,088,116 บาท ( 4บาท/ปชก.UC) บริหารระดับประเทศ. (1 บ./ปชก.UC) 1.แนวทางการจ่ายเงิน 2.ตัวชี้วัดพื้นที่ รวมงบจ่ายตามตัวชี้วัด บริหารโดย สปสช.เขต 212,223,054 บาท แนวทางการสนับสนุนงบ อปสข. ที่มา : คู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1
สรุปข้อเสนอตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ปี2557ตัวชี้วัดเขต 3 ข้อ (ข้อเสนอจากที่ประชุม 18-19-20 พ.ย.) 9 QOF 2557 หมายเหตุ : คะแนนรวม 1000 คะแนน
แนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิแนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ หลักการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาคุณภาพผลงานอย่างแท้จริง และมีประสิทธิภาพสอดคล้องเหมาะสมกับต้นทุนการพัฒนา ที่มาแนวทางการจ่ายแบบเดิมจ่ายตาม อัตรา : ปชก. ตามค่าคะแนน เมื่อวิเคราะห์ผลงาน งบ : หน่วย พบว่าไม่เหมาะสมและไม่สอดคล้องกับต้นทุนการพัฒนา • ใช้ Template ตัวชี้วัดที่สอดคล้องและเป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น • Template ตัวชี้วัด 8 flag shift /service plan ของกระทรวงสาธารณสุข • Template ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์สปสช. / TRIS • การกำหนดช่วงค่าคะแนนตัวชี้วัด • อิงเกณฑ์ กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่เป็นนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข หรือ สปสช. • อิงกลุ่ม กรณีที่เป็นตัวชี้วัดที่ไม่ได้มีการกำหนดเกณฑ์/ค่าเป้าหมายระดับประเทศ
1.2 ข้อเสนอแนวทางการจ่ายเงินงบจ่ายตามตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ 11 • 3. ใช้ข้อมูลที่มีในระบบของกสธ. และสปสช.เป็นหลัก เช่น OP/PP Ind. (21 แฟ้ม) , IP e-claim • 4. ใช้ผลงานบริการ 4 ไตรมาส คือ • ไตรมาส 3 และ 4 ปี 2556 • ไตรมาส 1 และ 2 ปี 2557 • (ยกเว้นบางตัวชี้วัดที่มีข้อจำกัด) • 5. จ่ายเงินให้หน่วยบริการประจำ • อัตราการจัดสรร (บาทต่อประชากร) ตามผลคะแนนตัวชี้วัดเกณฑ์คุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ ภายใต้วงเงินระดับเขต
กรอบแนวทางการสนับสนุนงบสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการปฐมภูมิ ปี 2557 หลักการ เพื่อบูรณาการยุทธศาสตร์ สปสช./กสธ./ยุทธศาสตร์เขตสุขภาพ เครือข่ายที่ 4 ตามคู่มือบริหารกองหลักประกันสุขภาพ ปี 2557 เล่ม 1 หน้า 55 ข้อ(1.2) แนวทางการสนับสนุนงบ แนวทางการจ่ายเงิน 1. จ่ายตามโครงการ 2. จ่ายตามตัวชี้วัดคุณภาพและผลงานบริการปฐมภูมิ หมายเหตุ : การพิจารณารายละเอียดของแผนงานโครงการและ ตัวชี้วัดให้เป็นไปตามความเห็นชอบของ สปสช.เขต ร่วมกับ คณะทำงานปฐมภูมิระดับเขต
4.กันเงินเพื่อจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการได้ไม่เกิน 20 บาท ต่อผู้มีสิทธิ
กรอบการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ ของหน่วยบริการที่รับการส่งต่อ ปี 2557
5. การบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2557 กลุ่มงานประกันสุขภาพ
แนวทางการบริหารงบค่าเสื่อม ปีงบประมาณ 2557 ภาครัฐสังกัดสป.สธ. ส่วนกลาง(กสธ.) เขต จังหวัด 20% หน่วยบริการ 80% หน่วยบริการ
แนวทางการดำเนินงาน จัดทำแผนโดย - หน่วยบริการและเครือข่าย ผู้อนุมัติ - คณะกรรมการประสานงาน สาธารณสุขระดับอำเภอ(คปสอ.) หน่วยบริการ 80% เขต 20% คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง
การจัดสรรงบค่าเสื่อมระดับหน่วยบริการ (ร้อยละ 80)