470 likes | 557 Views
ปฏิรูปท้องถิ่นอย่างไร ประชาชนจะได้ประโยชน์. โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า. โครงการบรรยายพิเศษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง วันเสาร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ.2557 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง. หัวข้อการบรรยาย. บริบทของการบริหารปกครองท้องถิ่นในระดับโลก
E N D
ปฏิรูปท้องถิ่นอย่างไรปฏิรูปท้องถิ่นอย่างไร ประชาชนจะได้ประโยชน์ โดย รองศาสตราจารย์วุฒิสาร ตันไชย รองเลขาธิการสถาบันพระปกเกล้า โครงการบรรยายพิเศษ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง วันเสาร์ที่ 6 กันยายน พ.ศ.2557 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง
หัวข้อการบรรยาย • บริบทของการบริหารปกครองท้องถิ่นในระดับโลก • กระแสการกระจายอำนาจและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย • ประเด็นความท้าทายของเมืองและการกระจายอำนาจในปัจจุบัน • แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559: ความเสี่ยงรูปแบบใหม่ • ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นในระดับโลก (UCLG) • หลักการสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองกับการกระจายอำนาจการปฏิรูปอปท.เพื่อรองรับการปฏิรูปประเทศไทย • การปกครองของรัฐ/เมืองในอนาคต (Future of Government) • เมืองแห่งอนาคต (City of the Future) • ข้อเสนอเบื้องต้น6G
บริบทของการบริหารปกครองท้องถิ่นในระดับโลกบริบทของการบริหารปกครองท้องถิ่นในระดับโลก
ภูมิภาคเอเชียและการกระจายอำนาจภูมิภาคเอเชียและการกระจายอำนาจ • Tim Campbell in Decentralization and Local Democracy in the World: First Global Report 2007 • โดย United Cities and Local Governments(UCLG) • ภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก • การกระจายอำนาจกลายเป็นประเด็นหลักของการปฏิรูปการบริหารปกครองและการสร้างประชาธิปไตยท้องถิ่น • แต่มีรูปแบบและแบบแผนที่หลากหลายมากในภูมิภาคที่ขึ้นกับบริบทที่หลากหลายของแต่ละประเทศ • ยังมีจุดอ่อนอีกมากในการเตรียมการเพื่อการกระจายอำนาจการบริหารปกครอง แต่ก็เป็นเรื่องยากอีกเช่นกันว่าในภูมิภาคนี้จะหวนกลับไปใช้การรวมศูนย์อำนาจแบบเดิมอีก
ความหลากหลายต่อการกระจายอำนาจในเอเชียความหลากหลายต่อการกระจายอำนาจในเอเชีย • ความหลากหลายต่อการกระจายอำนาจในเอเชีย • ในอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ และอินเดียเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับการปฏิรูปเพื่อเพิ่มอำนาจรัฐบาลท้องถิ่นและกระจายอำนาจ • จีนและเวียดนามนำแนวคิดการกระจายอำนาจไปปรับให้เข้ากับบริบทของประเทศที่เน้นระบบการปกครองแบบรวมศูนย์อำนาจทางการเมือง • ในปากีสถานมีการเปลี่ยนแปลงแบบเป็นวัฏจักรอย่างเห็นได้ชัดระหว่างยุคของการกระจายอำนาจและยุคการรวมศูนย์อำนาจ • แต่ในมาเลเซียและบังคลาเทศมีการต่อต้านขัดขวางจากภาครัฐในการกระจายอำนาจในสาระสำคัญที่จะไปเสริมสร้างบทบาททางการเมืองของรัฐบาลท้องถิ่น • ในกลุ่มประเทศที่สังกัด OECD เช่น ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ และนิวซีแลนด์ได้ให้ความสำคัญต่อการกระจายอำนาจที่เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิรูปการบริหารงานภาครัฐ
การกระจายอำนาจในบริบทโลกการกระจายอำนาจในบริบทโลก • Making it happen: A roadmap for cities and local public services to achieve outcomes • โดย PricewaterhouseCoopers (PwC) • การสำรวจว่าเมืองและท้องถิ่นต่าง ๆ ทั่วโลกเกี่ยวกับการวางกลยุทธ์และดำเนินการพัฒนาเมืองเมื่อเดือนมีนาคม ค.ศ.2011 • สำรวจในสหราชอาณาจักร ยุโรป เอเชียกลาง ออสเตรเลีย แอฟริกา อเมริกาเหนือ และอเมริกาใต้ • เป็นการสำรวจโดยส่งแบบสอบถามอิเลกทรอนิกส์ให้กับผู้นำ/ผู้บริหารของเมืองและรัฐบาลท้องถิ่นต่าง ๆ ใน โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามที่สมบูรณ์ 64 ฉบับ (64 เมือง) จากทั้งสิ้นที่ส่งมา 108 ฉบับ ที่มา: http://www.pwc.com/gx/en/government-public-services/publications/making-it-happen.jhtml
อะไรคือตัวเสริม (Enablers) และตัวขวาง (Barriers) ของการดำเนินตามยุทธศาสตร์เมืองและท้องถิ่น ? Finance เป็นตัวขวาง Leadership เป็นตัวเสริม
ผลการสำรวจของ PwC • สรุป: การพัฒนาความเป็นผู้นำของเมือง (Leadership) มีความสำคัญมากต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของเมือง • แต่ความเป็นผู้นำมิใช่ปัจจัยเดียว เพราะถ้าปราศจากการจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพย่อมเป็นไปได้ยากที่จะบรรลุตามวิสัยทัศน์ของเมืองที่ตั้งไว้ ซึ่งปัจจัยความสำเร็จนี้ขึ้นอยู่กับ • A. การเงินการคลัง (Financing) • B. การลดความซับซ้อน การสร้างมาตรฐาน และการสร้างความคล่องตัวของเมือง (Simplifying, standardising and streamlining) • C. การปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์ (Implementation planning) • D. การสนับสนุนตามกรอบการดำเนินงานและระบบติดตาม (Supporting frameworks and tracking systems)
กระแสการกระจายอำนาจและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยกระแสการกระจายอำนาจและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทย
กระแสการกระจายอำนาจในปัจจุบันกระแสการกระจายอำนาจในปัจจุบัน • รธน. พ.ศ.2540/2550 • พรบ. กระจายอำนาจฯ พ.ศ. 2542 • นครแม่สอด • มาบตาพุด • ร่างพรบ. การบริหารจังหวัดปกครองตนเองพ.ศ..... • กระแสแนวคิดประชาสังคม • สิทธิชุมชนตามรธน. ฯลฯ
กระแสการกระจายอำนาจในแนวใหม่กระแสการกระจายอำนาจในแนวใหม่ • Public-Private Partnership • Outsourcing • Privatization • Human Capital • Social Capital • Culture Capital • International Organizations • Regionalizations
สถานการณ์ปัจจุบัน • รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557:การจัดตั้งสภาปฏิรูป • มาตรา 27 ให้มีสภาปฏิรูปแห่งชาติมีหน้าที่ศึกษาและเสนอแนะเพื่อให้เกิดการปฏิรูปในด้านต่าง ๆดังต่อไปนี้
สถานการณ์ปัจจุบัน • ประกาศคณะรักษาความสงบฉบับที่ 85/2557 เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่นเป็นการชั่วคราว • ข้อ 2 กำหนดให้มีการคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถผู้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่นแทนตำแหน่งที่ครบวาระหรือว่างลงหรือมีกรณีสิ้นสุดสมาชิกภาพ • สมาชิกสภาท้องถิ่นที่ได้รับการคัดเลือกอย่างน้อยสองในสามต้องเป็นหรือเคยเป็นข้าราชการตั้งแต่ระดับชำนาญการพิเศษหรือระดับ 8 หรือเทียบเท่าขึ้นไป • ประกาศคณะรักษาความสงบฉบับที่ 86/2557 เรื่อง การได้มาซึ่งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครและสมาชิกสภาเขตเป็นการชั่วคราว • ข้อ 2 กำหนดให้มีการคัดเลือกบุคคลที่มีความรู้ความสามารถผู้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาท้องถิ่นแทนตำแหน่งที่ครบวาระหรือว่างลงหรือมีกรณีสิ้นสุดสมาชิกภาพ • สมาชิกสภาท้องถิ่นที่ได้รับการคัดเลือกอย่างน้อยสองในสามต้องเป็นหรือเคยเป็นข้าราชการตั้งแต่ระดับนักบริหารระดับสูงหรือระดับ 10 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
สถานการณ์ปัจจุบัน • คำสั่งที่ 88/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 • แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาความเหมาะสมการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 • เสนาธิการทหาร เป็นประธานกรรมการ • รองเสนาธิการทหาร (2) รองประธานกรรมการ (1) • ผู้บัญชาการหน่วยบัญชาการทหารพัฒนา รองประธานกรรมการ (1) • อธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรรมการ • ผู้อำนวยการสำนักจัดทำงบประมาณด้านความมั่นคง 1 สำนักงบประมาณ กรรมการ • ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย กรมบัญชีกลาง กรรมการ • หัวหน้าสำนักงานคณะกรรมการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรรมการ • ปลัดบัญชีทหาร กรรมการและเลขานุการ
จากการกระจายอำนาจในบริบทโลกประเทศไทยจะไปทางไหน ? เราจะรับเอาบทเรียนจากต่างประเทศมาเพื่อปฏิรูปอปท.อย่างไร ?
ประเด็นความท้าทายของเมืองและการกระจายอำนาจในปัจจุบันประเด็นความท้าทายของเมืองและการกระจายอำนาจในปัจจุบัน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559: ความเสี่ยงรูปแบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงสำคัญระดับโลก
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555-2559: ความเสี่ยงรูปแบบใหม่ การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
ข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นในระดับโลกข้อเสนอการปฏิรูปท้องถิ่นในระดับโลก • Tim Campbell in Decentralization and Local Democracy in the World: First Global Report 2007 • โดย United Cities and Local Governments(UCLG) • UCLG ได้สรุปความก้าวหน้าและอุปสรรคในอนาคตของท้องถิ่นทั่วโลกไว้ 6 มิติคือ
สรุปความท้าทายของ United Cities and Local Governments (UCLG) ไทย พรบ. /แผน ของไทยมีคุณลักษณะดังกล่าวหรือไม่ ? การจัดองค์กรของอปท. สอดคล้องกับความท้าทายหรือไม่ ?
สรุปความท้าทายของ United Cities and Local Governments (UCLG) ไทย อปท. ไทยมีความรับผิดชอบมากน้อยเพียงใด ? การคลังท้องถิ่นไทยประสบปัญหาดังกล่าวอย่างไร ?
ไทย สรุปความท้าทายของ United Cities and Local Governments (UCLG) การเมืองท้องถิ่นสร้างการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบต่อประชาชนมากน้อยแค่ไหน ? อปท. มีศักยภาพทั้งด้านบุคลากร คุณธรรม การปลอดทุจริตหรือไม่ ?
หลักการสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองกับการกระจายอำนาจหลักการสำคัญเกี่ยวกับการพัฒนาเมืองกับการกระจายอำนาจ
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อทิศทางการกระจายอำนาจและการพัฒนาเมือง (1) • หลักการพื้นฐาน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อทิศทางการกระจายอำนาจและการพัฒนาเมือง (2) • การสร้างพันธมิตร (Partnership) ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • การมี 4Ps
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อทิศทางการกระจายอำนาจและการพัฒนาเมือง (3) • PRIVATE– การร่วมมือกับภาคเอกชน • การมีระบบร่วมทุน (Public-Private Partnership) • การแปรรูปให้เป็นของเอกชน/เอกชนดำเนินการแทน (Privatization) • PUBLIC- การร่วมมือกับภาครัฐ (ส่วนกลาง/ภูมิภาค/ท้องถิ่น) • การมีเครือข่ายองค์กร (Intergovernmental Relation) ระหว่างหน่วยงานภาครัฐเพื่อจัดทำกิจกรรมหนึ่ง ๆ • POLITICS – การร่วมมือกับฝ่ายการเมือง • การให้ฝ่ายการเมืองในฐานะผู้กำหนดนโยบายและที่มาแห่งความชอบธรรมของประชาชนมีบทบาทในการสนับสนุนการทำงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • PEOPLE– การร่วมมือกับภาคประชาชน • การสร้างความร่วมมือกับภาคประชาชน / ชุมชน / สมาคม / กลุ่มชาติพันธ์ / กลุ่มอัตลักษณ์
ปรัชญาของเมืองในอนาคตปรัชญาของเมืองในอนาคต การมีจุดยืนของเมือง (Self-Position)
GOAL การจัดความสัมพันธ์ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและเป้าหมายของเมือง • ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง (Stakeholders) มีความแตกต่างกันมากในเชิงความต้องการและเป้าหมายในการพัฒนาเมือง • การจัดความสัมพันธ์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องนั้นขึ้นอยู่กับการกำหนดทิศทาง/เป้าหมาย (Goal) ว่าจะให้น้ำหนักเมืองไปในทิศทางใด
การปฏิรูปอปท.เพื่อรองรับการปฏิรูปประเทศไทยการปฏิรูปอปท.เพื่อรองรับการปฏิรูปประเทศไทย
Future of GovernmentA moment of truth : Step up or fall behind!!! • สรุปจาก: Future of Government. (June 2013) โดย PricewaterhouseCoopers (PwC) • การขับเคลื่อนเพื่อความเปลี่ยนแปลง - Drivers for Changes: • รับมือกับความไม่แน่นอน (Dealing with uncertainty) • การจัดหาสิ่งที่สัญญาไว้กับประชาชน (Delivering on the citizen promise) • ความต้องการของประชาชน/ การตระหนักรู้ของประชาชน (The demanding citizen, Citizen Awareness) • ขีดจำกัดด้านงบประมาณ (Budgetary constraints) • การแข่งขันในระดับภูมิภาค/ระดับโลก (Regional/Global competition) • ภาครัฐเป็นผู้ปฏิรูปวาระ (Public sector reform agenda) • มีความรับผิดรับชอบและความโปร่งใสที่ดีเยี่ยม (Greater accountability and transparency) • The moment of truth is now. It’s time to get started. มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government
การปกครองของรัฐ/เมืองในอนาคต (Future of Government) • การมองไกลและวางแผนล่วงหน้าคือเรื่องสำคัญ (Looking beyond and Planning ahead) • การปรับบทบาทภาครัฐจาก...... • ประชาชนอยู่ในการควบคุมดูแล • การปกครองร่วมกับประชาชน • องค์กรแบบเครือข่าย • องค์กรภาครัฐที่มีขนาดเล็ก ยืดหยุ่น และขับเคลื่อนตามวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน • รัฐบาลในฐานะผู้อำนวยความสะดวก ตัวแทน และผู้รับมอบหมายงาน • รัฐและประชาชนเป็นเจ้าของผลลัพธ์ร่วมกัน • การวัดผลตามผลลัพธ์ • มีการร่วมมือซึ่งกันและกันบนฐานความไว้วางใจ • เชื่อมั่นต่อ “ผู้นำที่เป็นผู้อุทิศรับใช้” (the ‘servant leader’) • ประชาชนอยู่ใต้บงการ • การปกครองเพื่อประชาชน • องค์กรแบบรวมศูนย์ • องค์กรภาครัฐขนาดใหญ่/ทำงานทุกอย่างเพียงผู้เดียว • รัฐบาลในฐานะผู้จัดหาบริการสาธารณะ • รัฐบาลเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตและกระบวนการ • การวัดผลตามผลผลิต • การร่วมมือบนฐานของการบังคับ • เชื่อในผู้นำเข้มแข็ง มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government
ภาวะผู้นำ Figure: The Leading public body of the future - PwC Figure: The Leading public body of the future การจัดการกองทุนและการเงินอย่างชาญฉลาด การจัดการความสามารถ (Talent) เจตนารมณ์ทางการเมือง พันธมิตร & เครือข่าย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน นวัตกรรม ประชาชนเป็นศูนย์กลาง สร้างผลกระทบ การมอบหมาย การออกแบบ และการจัดหาบริการ วิสัยทัศน์ & พันธกิจ ผลลัพธ์ ความคล่องแคล่ว สมดุลระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน-ภายนอก การพิเคราะห์ความคิดและปัญญา การดำเนินการของกลยุทธ์อย่างประสบความสำเร็จ ความต่อเนื่อง การจัดลำดับความสำคัญ & การดำเนินการตามแผน ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก ผลลัพธ์ที่ยั่งยืน ความโปร่งใส การจัดการแผนการ โครงการ & ความเสี่ยง Key characteristics การวัดประสิทธิภาพและการประเมินผลลัพธ์ The Lenses การสร้างต้นแบบอย่างฉับไว ที่มา:PwC. (June 2013) Future of Government ศักยภาพการบริหารจัดการภายใน
พลังขับเคลื่อนภาครัฐ (Driving Forces)
Our Asks 1: Questions to think about • อะไรคือแนวโน้มที่เกิดขึ้นปัจจุบันที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรของคุณมากที่สุด ? (What are the current and emerging trends the are most impacting your organization ?) • องค์กรของคุณมีความสามารถระบุบ่งชี้ถึงแนวโน้มดังกล่าวหรือไม่ ? ทำไมถึงระบุได้และทำไมถึงทำไม่ได้ ? (Has your organization been able to address these? Why and Why not ?) • อะไรคือแนวโน้มที่อาจจะส่งผลต่อการจัดบริการสาธารณะของพวกเราแก่ประชาชน ? (How will these trends affect the way we deliver our services to citizens ?) • องค์กรของคุณได้ออกแบบองค์กรเพื่อตอบสนองกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่มีการคาดการณ์ไว้และเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดได้อย่างไร ? (How is your organization configured to respond to both expected and unexpected events ?) มาจาก PwC. (June 2013) Future of Government
Figure: Internal, organizational perspective วงจรการพัฒนาปรับปรุงการจัดบริการสาธารณะ ภาวะผู้นำ Figure: Internal, organizational perspective - PwC Cost Drivers ความจำเป็น ในการประเมิน กลยุทธ์ - ทำไมเราต้องจัดบริการตามแนวทางกลยุทธ์นี้? - เรามีความจำเป็นในการจัดบริการหรือไม่? การสร้างแบรนด์ การร่วมมือ & การมอบหมาย ความจำเป็นของการประเมิน การพัฒนาตลาด การจัดการผู้จัดบริการ ชุมชน & การมีส่วนร่วมอย่างเป็นประชาธิปไตย การเข้าร่วมของประชาชน & การมีส่วนร่วมของภาคธุรกิจ แหล่งเงินทุน การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและปัญญา การควบคุมการปฏิบัติการ การรายงานผลกลาง การติดตามประสิทธิภาพ นโยบายด้านการบริการ แหล่งที่มา Focus: มูลค่าของเงิน- การตัดสินใจ สร้าง / ซื้อ / หยุด ประสิทธิผล& ประสิทธิภาพ โครงสร้าง - อะไรที่มีอิทธิพลต่อต้นทุนคงที่ของการจัดบริการ? การจัดการกองทุนและการเงินอย่างชาญฉลาด การสร้างต้นแบบทางนวัตกรรมและฉับไว การจัดบริการสาธารณะ ผลลัพธ์ของการประเมิน การออกแบบการบริการ ปฏิบัติการ -พวกเราจะดำเนินการให้เป็นไปตามกระบวนการที่สำคัญต่าง ๆ ได้อย่างไร? - เราสามารถพิสูจน์มูลค่าของเงินได้หรือไม่ การฟื้นฟู พื้นที่สาธารณะ ความมั่นคง การดูแลทางสังคม สภาพแวด ล้อม ค่าใช้จ่ายด้านสวัสดิการ การประเมินการบริการ การจัดหาการบริการ องค์กรภาครัฐอื่น ๆ Middle office Back office ภาคเอกชน Front office Virtual office ที่มา:PwC. (June 2013) Future of Government Pan Public Sector
แนวคิดเมืองแห่งอนาคต (Cities of the future) • Making it happen: A roadmap for cities and local public services to achieve outcomes • โดย PricewaterhouseCoopers (PwC) • “Vision into Reality” เป็นสิ่งสำคัญที่สุด • จำเป็นต้องมีวิสัยทัศน์และแผนยุทธศาสตร์ • การมีวิสัยทัศน์ที่ดีจำเป็นต่อการสร้างความทะเยอทะยานและอยู่บนความเป็นจริง • การสร้างและวางแผนวิสัยทัศน์ควรมาจากหลายภาคส่วน • การมีวิธีคิดแบบองค์รวมจำเป็นต่อการวางแผนเพื่อนำไปสู่การดำเนินการของกลยุทธ์ • ต้องเจาะลึกและจัดลำดับความสำคัญต่อวิธีคิดทั้งหมดเพื่อเตรียมพัฒนาแนวทางสำหรับอนาคต
เราจะเป็นเมืองแห่งอนาคตแบบไหน ? (Cities of the future)
วิสัยทัศน์ ความทะเยอทะยานทางยุทธศาสตร์ แนวคิดเมืองแห่งอนาคต (Cities of the future) ภาวะผู้นำ ปัญญาทางสังคม แบรนด์ของเมือง การคลังของเมือง การจัดลำดับความสำตัญ การบริหารจัดการขีดความสามารถ โครงการและแผนงาน ผลการปฏิบัติงานและความเสี่ยง ทรัพย์สิน พันธมิตร ประชาชน นโยบายการจัดการทุน เศรษฐกิจท้องถิ่นที่ยั่งยืน (Sustainable Local Economy) ทุนทางสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมและการพักผ่อนหย่อนใจ ทุนทางสังคม การมีส่วนร่วมและทุนทางการเมือง ทุนทางปัญญา ทุนทางสาธารณูปโภค ทุนทาง ICT การดำเนินงานและการจัดการผลการปฏิบัติงาน เมืองแห่งอนาคต / เมืองแห่งโอกาส A City of the Future, A City of Opportunity
KEY SUCCESS สำหรับเมืองแห่งอนาคต
KEY SUCCESS สำหรับเมืองแห่งอนาคต
KEY SUCCESS สำหรับเมืองแห่งอนาคต
ข้อเสนอเบื้องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย • หัวใจของการจัดบริการสาธารณะใหม่ • 1. ต้องถูกลง (ต้นทุนในการจัดบริการต้องถูกลง) • 2. ต้องตอบเรื่องการให้บริการ , ทางเลือกของการจัดบริการที่ตอบสนองหลายแบบ • 3. ต้องเน้นเรื่องเศรษฐกิจ • 4. มีความหลากหลายในมติของรูปแบบการจัดบริการ • การทำวิสาหกิจ เช่น เทศพาณิชย์ • การทำงานร่วมกันในลักษณะ “สหการ” • การลงทุนเพื่อให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ข้อเสนอเบื้องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย เก็บตามอำนาจหน้าที่ที่ตนเองมี / ที่เก็บจากค่าบริการพิเศษเพิ่มเติม • รายได้ที่มาจากค่าธรรมเนียม : หลักการของการเก็บค่าธรรมเนียมที่จะจัดเก็บคือ เก็บจากการให้บริการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • การทำเทศพาณิชย์ ควรมองในมุมที่กว้างขึ้น เป็น Revenue แต่ไม่ใช่ Profit • การพัฒนาโครงการขนาดใหญ่ ที่เป็นการพัฒนาเศรษฐกิจ หรือ จัดบริการที่มีต้นทุนแพง • การออกพันธบัตร ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีการระดมทุนด้วยตนเอง เช่น กรณีการขนส่งมวลชน สามารถออกพันธบัตรได้ เทศพาณิชย์ เช่น ค่าเช่าที่ดินของเทศบาล ฯลฯ การพัฒนาเศรษฐกิจของท้องถิ่นเพื่อสร้างรายได้ทางอ้อม ปัจจุบันท้องถิ่นไทยยังไม่มีการออกพันธบัตรเพื่อระดมทุนด้วยตนเอง
ข้อเสนอเบื้องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย
ข้อเสนอเบื้องต้น 6G: การปฏิรูปองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อการปฏิรูปประเทศไทย