1 / 118

เหลียวหลัง แลหน้าบทบาทเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย

เหลียวหลัง แลหน้าบทบาทเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย. โดย ศาสตราจารย์ ดร . ชัยยงค์ พรหมวงศ์ นายกสมาคมเทคโนโลยีการศึกษาแห่งประเทศไทย อดีตหัวหน้าโปรแกรมเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาโสตทัศนศึกษา อดีจประธานสาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

Download Presentation

เหลียวหลัง แลหน้าบทบาทเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เหลียวหลัง แลหน้าบทบาทเทคโนโลยีการศึกษาในประเทศไทย โดย ศาสตราจารย์ดร.ชัยยงค์พรหมวงศ์ นายกสมาคมเทคโนโลยีการศึกษาแห่งประเทศไทย อดีตหัวหน้าโปรแกรมเทคโนโลยีการศึกษา ภาควิชาโสตทัศนศึกษา อดีจประธานสาขาวิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

  2. ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์นายกสมาคมเทคโนโลยีการศึกษาแห่งประเทศไทย การศึกษา...ค.บ., ...ค.ม. (จุฬา) ...M.S. in Ed. (Ed. Admin); ...Ph.D in Educational Technology (USC) ประสบการณ์...หน.ศูนย์โสตทัศนศึกษากลางจุฬาฯ ...หนึ่งในกลุ่มผู้ก่อตั้งมสธ. ...ผอ.สำนักเทคโนโลยีการศึกษามสธ. ...ผู้เชี่ยวชาญด้านฝึกอบรมการศึกษาทางไกลและสื่อสารการศึกษาของUNDP/UNESCOที่อินโดนีเซียศรีลังกามัลดีฟส์อินเดีย ปากีสถานญี่ปุ่นลาวฟิลิปปินส์ ...ผู้พัฒนาระบบการสอน“แผนจุฬา” “แผนมสธ.” ระบบการสอนแบบศูนย์การเรียนและการสอนแบบอิงประสบการณ์ (EBA) ...ผู้อำนวยการโครงการศึกษาไร้พรมแดนมหาวิทยาลัยสุรนารี ...รองอธิการบดี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ...ผู้อำนวยการสำนักฝึกอบรมเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สถาบันพระปกเกล้า ....Chief Operating Officer, College of Internet Distance Education

  3. ประเด็นสารกถา • เหลียวหลัง-ถูกครอบด้วยภาพ “สื่อการศึกษา” • มองปัจจุบัน-ปรับกระบวนทัศน์สู่ตัวตนที่แท้จริง • แลหน้า-สู่เทคโนโลยีการศึกษาภควันตภาพ • แผนกลยุทธ์เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา • การปรับเปลี่ยนคุณลักษณะวิสัยทัศน์นักเทคโนโลยีการศึกษา • เทคโนโลยีการศึกษา-เครื่องมือพัฒนาทักษะศตวรรษที่ ๒๑

  4. สภาพแวดล้อมโรงเรียนในอนาคต อาคารเรียน หอบริการ หอประสบการณ์ หอความรู้ อาคารบริหาร ถนน

  5. วงจรการเรียน-ภาพอนาคต วัด • อนาคต บ้าน สำนัก เฉพาะทาง โรงเรียน KB ชุมชน

  6. วงจรการดำรงชีวิต-ภาพอนาคต วงจรการดำรงชีวิต-ภาพอนาคต วัด • อนาคต บ้าน ธนาคาร ที่ทำงาน ศูนย์ธุรกิจ อิเล็กทรอนิกส์ E-Business บันเทิง

  7. เหลียวหลัง-ถูกครอบด้วยภาพ “สื่อการศึกษา” • ในระดับสากล • ในประเทศไทย

  8. เหลียวหลัง-ถูกครอบด้วยภาพ “สื่อการศึกษา” เทคโนโลยีการแพทย์ vsสื่อทางการแพทย์ เทคโนโลยีการเกษตร vs. สื่อทางการเกษตร เทคโนโลยีสังคม vs. สื่อสังคม เทคโนโลยีการศึกษา vs. สื่อการศึกษา????

  9. เหลียวหลัง-ในระดับสากลเหลียวหลัง-ในระดับสากล ในเอเชีย-สมัยพระพุทธกาล-พระพุทธเจ้าทรงใช้หลากหลายวิธีการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมพุทธศาสนิกชน ในยุโรป-การเกิด Audio Visual Education ในอเมริกา-การเปลี่ยนแปลงแนวคิดทางเทคโนโลยีการศึกษา โสตทัศนศึกษา-จากวิทยาศาสตร์กายภาพสู่พฤติกรรมศาสตร์ การเกิด Technology for Education

  10. เหลียวหลัง-ในประเทศไทยเหลียวหลัง-ในประเทศไทย สมัยพระพุทธกาล-พระพุทธเจ้าทรงใช้หลากหลายวิธีการในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมพุทธศาสนิกชน การใช้ของจริง การเปรียบเทียบ การให้ปฏิบัติจริง การใช้ปริศนาธรรม การใช้ประสบการณ์ในอดีต-ชาดก

  11. เหลียวหลัง-ในประเทศไทยเหลียวหลัง-ในประเทศไทย 2505-2516-โสตทัศนศึกษา>>Technician Oriented 2516-2530-เทคโนโลยีการศึกษา>> Programmer Oriented 2531-2555-การออกแบบระบบการสอน/การออกแบบการสอน>>Instructional System DesignInstructional Design 2555-Present – เทคโนโลยีการศึกษาภควันตภาพ >>>Ubiquitous Educational Technologist

  12. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา Educational technology is the use of technology to improve education. Educational technology is the application of scientific knowledge to the teaching and learning of knowledge and skills. In a more specific sense, educational technology is sometimes known as instructional technology, or teaching and learning technology.

  13. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา • Educational refers to processes for the imparting of knowledge, skills, and judgment to children, • Technology refers to high technology, in particular information technology (IT). The particular case of the meaningful use of high-technology to enhance learning in K-12 classrooms and higher education is known as technology integration.

  14. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา Technology = Physical Science Concept + Behavioral Science Concept

  15. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา = แนวคิดทางวิทยาศาสร์กายภาพ + แนวคิดทางพฤกรรมศาสตร์

  16. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ Physical Science Concept) -หมายถึง ระบบการนำผลิตผลทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์เพื่อการศึกษา (วัสดุและอุปกรณ์) +

  17. แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดทางทางพฤติกรรมศาสตร์ Behavioral Science Concept) การนำหลักการทางจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และนิเทศศาสตร์เพื่อพัฒนาระบบ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เทคนิควิธีการ ฯ เพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  18. มองปัจจุบัน ภาพรวม-ความเข้าใจใหม่ สู่เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สู่เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารการศึกษา สู่เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา สู่ eLearning Science: eLearning, M-Learning, U-Learning

  19. มองปัจจุบัน ภาพใหม่-การเข้าถึงแก่นสาระเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะศาสตร์และวิทยาการ เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง อุดมภาพเทคโนโลยีการศึกษา การจัดขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา วิสัยทัศน์เทคโนโลยีการศึกษาร

  20. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการ องค์ประกอบของ ศาสตร์/วิทยาการ ศัพท์เฉพาะศาสตร์ เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้ Nomenclature Body of Knowledge การศึกษาวิจัย Mode of Inquiry

  21. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการ • ศัพท์เฉพาะศาสตร์ (Nomenclature) หมายถึงระบบบัญญัติศัพท์บัญญัติหรือศัพท์เทคนิค (System of names) ที่ใช้เฉพาะในวงการเพื่อสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างผู้ปฏิบัติวิชาชีพ ในด้านเทคโนโลยีการศึกษาก็จำเป็นจะต้องมีศัพท์สำหรับการสื่อการระหว่างนักเทคโนโลยีการศึกษาด้วยกันเองและกับผู้อื่นที่เกี่ยวข้องกับการรับและให้บริการ เทคโนโลยีการศึกษา

  22. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการ • เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้ (Body of Knowledge) ศาสตร์/วิทยาการ มีองค์ความรู้เฉพาะที่ครอบคลุมองค์ความรู้พื้นฐาน องค์ความรู้ระดับกลางที่เกี่ยวข้องกับการนำหลักการและทฤษฎีไปใช้ และองค์ความรู้ระดับประสบการณ์ที่จะต้องมีการศึกษาอบรมเพื่อให้นักศึกษามีความรู้เพียงพอที่จะเข้าสู่วิชาชีพ ในด้านเทคโนโลยีการศึกษาก็จำเป็นจะต้องมีองค์ความรู้ที่ผู้เรียนจะต้องศึกษาและฝึกฝนให้เกิดความรู้และประสบการณ์เพื่อให้สามารถประกอบวิชาชีพได้ตามจุดมุ่งหมาย

  23. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิทยาการ • วิธีการศึกษาค้นคว้าวิจัย (Mode of Inquiry) ทุกศาสตร์/วิทยาการต้องมีการศึกษาวิจัยเพื่อค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ ในด้านเทคโนโลยีการศึกษาก็จำเป็นที่จะต้องมีการศึกษาวิจัยเพื่อเพิ่มองค์ความรู้ และประสบการณ์แก่ผู้ประกอบวิชาชีพ เพื่อให้สามารถประกอบวิชาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  24. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 1. มีเสรีภาพทางวิชาการและวิชาชีพ (Autonomy) 2. มีลักษณะบริการที่ไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน (Nature of Services) 3. ใช้กระบวนการทางสติปัญญา (Intellectual Process) 4. มีการศึกษาอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ (Education and Training) 5. มีการฝึกงานหรือประสบการณ์วิชาชีพ (Professional Experience) 6. มีใบรับรอง หรือใบอนุญาตประกอบอาชีพ (Certification/License) 7. มีจรรยาวิชาชีพ (Ethics) 8. มีองค์กรหรือสมาคมวิชาชีพชั้นสูง (Professional Controlling Body)

  25. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 1) มีเสรีภาพทางวิชาการและวิชาชีพ (Autonomy)-สามารถประกอบวิชาชีพย่างเป็นอิสระ ไม่ถูกครอบงำด้วยอำนาจจากภายนอกให้ละเว้น หรือกระทำสิ่งที่ไม่ถูกต้องด้วยหลัก วิชาการหรือวิชาชีพของตน และได้รับความคุ้มครองด้วยกฎหมายที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพนั้นๆ

  26. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 2) มีเอกลักษณ์ของบริการ (Nature of Services) วิชาชีพชั้นสูงมีลักษณะบริการที่ไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน เช่น บริการทางแพทย์ก็จะแตกต่างจากบริการทางการสอน เป็นต้น

  27. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 3) ใช้กระบวนการทางสติปัญญา (Intellectual Process) วิชาชีพชั้นสูง จะต้องมีการศึกษาอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะความชำนาญ สมรรถนะ และทัศนคติ โดยมีหลักสูตรและระยะเวลาที่เพียงพอเพื่อเตรียมคนเข้าสู่วิชาชีพ

  28. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 4) มีการศึกษาอบรมเพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะความชำนาญ สมรรถนะ และทัศนคติ โดยมีหลักสูตรและระยะเวลาที่เพียงพอ

  29. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 5) มีการฝึกงานหรือประสบการณ์วิชาชีพ (Professional Experience) ผู้ที่จะเข้าสู่วิชาชีพใดๆ จำเป็นที่จะต้องมีการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อนำความรู้ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริง โดยอาจเข้าฝึกงานหรือ ประสบการณ์ ในระหว่างการศึกษา หรือหลังจากสำเร็จการศึกษาแล้ว แต่ต้องฝึกประสบการณ์ วิชาชีพ ก่อนที่จะได้รับใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ

  30. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 6) มีใบรับรอง หรือใบอนุญาตประกอบอาชีพ(Certification and Licensing) หลังจากการศึกษาอบรมและผ่าน ประสบการณ์ วิชาชีพ แล้ว ผู้ที่จะ ประกอบวิชาชีพ จะต้องได้รับใบรับรองและหรือใบอนุญาต ประกอบวิชาชีพ ในรูปประกาศนียบัตร ปริญญาบัตร หรือใบอนุญาตที่องค์กรที่มีอำนาจออกให้

  31. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 7) มีจรรยาวิชาชีพ (Ethics) จรรยาวิชาชีพ หรือจรรยาบรรณเป็นกติกาหรือกฎเกณฑ์ที่กำหนดไว้เพื่อกำกับควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ และป้องกัน มิให้ผู้ ประกอบวิชาชีพ กระทำสิ่งที่ไม่ชอบไม่ควร และเพื่อปกป้องผลประโยชน์ของผู้รับบริการ หากทำผิดจรรยาบรรณ ก็จะเป็นเหตุให้ถูกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได้

  32. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง 8) มีองค์กรหรือสมาคมวิชาชีพชั้นสูง ( Professional Controlling Body) เพื่อกำหนดมาตรฐานวิชาชีพ กำกับควบคุมการปฏิบัติงานและความประพฤติของสมาชิก และส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าในวิชาชีพนั้นๆ

  33. มองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูงมองปัจจุบัน-เทคโนโลยีการศึกษาในฐานะวิชาชีพชั้นสูง วิชาชีพชั้นสูง ต้องมีสภาวะเต็มที่จะทำให้การให้บริการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เรียกว่า “อุดมภาพ” อุดมภาพ หมายถึงสภาวะเต็มเปี่ยมแห่งการประกอบวิชาชีพที่มีคุณภาพเพื่อสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้รับบริการ (Customer Satisfaction)

  34. 4 มิติแห่งอุดมภาพของวิชาชีพชั้นสูง • อุดมการณ์-ปรัชญา/ปณิธาน/วิสัยทัศน์/อุดมการณ์ (Philosophy,Missionand Vision -PMV) • ระบบการทำงาน-ขั้นตอนการดำเนินงานที่มีคุณภาพ (Quality Standard Procedure-QSP) • ระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน (Standard Work Instruction-SWI) • รูปแบบและเอกสารสนับสนุน (Supporting Formats and Documentation)

  35. อุดมภาพของวิชาชีพชั้นสูงอุดมภาพของวิชาชีพชั้นสูง 4 มิติแห่งอุดมภาพ: สภาวะเต็มเปี่ยมแห่งการประกอบวิชาชีพ PMV QSP Philosophy, Mission Quality Standard and Vison Procedure SWI Satisfaction SFD Standard Work Supporting Formats Instruction and Documentation

  36. มองปัจจุบัน-มาตรฐานเทคโนโลยีการศึกษามองปัจจุบัน-มาตรฐานเทคโนโลยีการศึกษา • ระดับต่ำสุดแห่งความรู้ ความสามารถสมรรถนะที่ผู้ประกอบวิชาชีพ เทคโนโลยีการศึกษาตามมิติและขอบข่ายด้านเทคโนโลยีการศึกษาที่เป็นที่ยอมรับของสมาชิกในวิชาชีพ • ความสามารถที่บัณฑิตทางเทคโนโลยีการศึกษาจะพึงทำได้หลังจากสำเร็จการศึกษาไปแล้ว

  37. แลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา Technology = Techno/Texere (วิธีการ) + Logos (ศาสตร์/การศึกษาเกี่ยวกับ)

  38. แลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา Educational technology is the use of technology as the tools for effective delivery systems to improveand expand educational opportunities to make them available for EVERYONE, EVERYWHERE AND AT ANYTIME

  39. ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาความหมายเทคโนโลยีการศึกษา • เทคโนโลยีการศึกษา เป็นการใช้เทคโนโลยี (วิธีการวิทยา) เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับระบบการถ่ายทอดที่มีประสิทธิภาพเพื่อปรับปรุงและขยายความรู้และประสบการณ์ สำหรับทุกคน เข้าถึงได้ทุกที่และทุกเวลา

  40. แลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดเทคโนโลยีการศึกษา Educational technology is the systematic application of scientific knowledge to the educational administration and management, teaching and learning of knowledge and skills, and services by developing appropriate educational and instructional systems, nurturing desirable behavioral performances, seeking appropriate methods and techniques, employing effective communication, developing appropriate environment, through efficient management and evaluation.

  41. ความหมายเทคโนโลยีการศึกษาความหมายเทคโนโลยีการศึกษา • เทคโนโลยีการศึกษา ในฐานะศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา เป็นการประยุกต์ผลิตผลทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบสำหรับการบริหารและการจัดการการศึกษา การเรียนการสอน และการบริการการศึกษาด้วยการพัฒนาระบบ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เทคนิควิธีการ การสื่อสาร การจัดสภาพแวดล้อม การจัดการ และการประเมินเพื่อจัดการศึกษาให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  42. แลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา Technology Physical Science Concept + Behavioral Science Concept + Illuminating Science Concept

  43. แลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา เทคโนโลยีการศึกษา = แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ + แนวคิดทางพฤติกรรมศาสร์ + แนวคิดทางปัญญาทัศนศาสร์

  44. แลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดเดิม-แนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ Physical Science Concept) -หมายถึง ระบบการนำผลิตผลทางวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์เพื่อการศึกษา (วัสดุและอุปกรณ์) +

  45. แลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดเดิม--แนวคิดทางทางพฤติกรรมศาสตร์ Behavioral Science Concept) การนำหลักการทางจิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษยวิทยา และนิเทศศาสตร์เพื่อพัฒนาระบบ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เทคนิควิธีการ ฯ เพื่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

  46. แลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-แนวคิดใหม่ทางเทคโนโลยีการศึกษา แนวคิดใหม่--แนวคิดทางทางปัญญาทัศนศาสตร์ (Illuminating Science Concept) เป็นการนำหลักการจากการผุดรู้และญาณวิทยามาช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความสว่างคือปัญญาให้เกิดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียนประจักษ์และรู้เท่าทันสภาพที่เป็นจริงอย่างปราศจากความเคลือบแคลงสงสัย เพื่อสร้างเสริมสติปัญญาของผู้เรียนให้ลุ่มลึก กว้างขวางได้มากกว่าการเรียนจากเทคโนโลยีการศึกษาตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์กายภาพและแนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ที่เน้นการเรียนจากการใช้สัมผัสทั้งห้า คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกายเป็นสื่อรับความรู้และประสบการณ์

  47. แลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษาแลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษา ตามบริบท การเผยแพร่และฝึกอบรม การศึกษาทางไกล นอกระบบโรงเรียน ตามสาระในระบบโรงเรียน การจัดระบบ พฤติกรรม วิธีการ สื่อสาร สภาพแวดล้อม การจัดการ การประเมิน การบริหารวิชาการบริการ ตามภารกิจ

  48. แลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษามิติเชิงสาระ- การจัดระบบ • การจัดระบบ (Systems Approach)-ต้องพัฒนาระบบการศึกษาเป็นการเฉพาะให้เหมาะสมกับเขตพื้นที่การศึกษา • การพัฒนาระบบการสอน (Instructional System Development) ต้องพัฒนาระบบการเรียนการสอนทั้งระบบรวมที่ใช้โรงเรียน • การออกแบบระบบการสอน (Instructional System Design) นำระบบรวมมาออกแบบเป็นระบบเฉพาะที่สอดคล้องกับธรรมชาติกลุ่มสาระ • การออกแบบการสอน (Instructional Design) ต้องออกแบบการสอนประจำแต่ละกลุ่มสาระหรือมาตรฐาน

  49. แลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษามิติเชิงสาระ - พฤติกรรม • พฤติกรรม (Behavior) - การแสดงออกของครูและนักเรียน ต้องมีการกำหนดรูปแบบพฤติกรรมที่เหมาะสมกับการนำระบบการสอนมาใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ประกอบด้วย -การแสดงออก/ผลงาน (Performance) -ทัศนคติ (Attitude) -ความเห็นต่อเรื่องต่างๆที่เป็นบวกหรือลบ -พฤติกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม (Tradition and Culture) E-emotion, M-Moral, A-Adversity, S-Social, I-Intelligence-san VS. IQsan

  50. แลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษามิติเชิงสาระ-วิธีการแลหน้า-ขอบข่ายเทคโนโลยีการศึกษามิติเชิงสาระ-วิธีการ • วิธีการ (Methods) - วิธีการเรียนการสอนในกลุ่มสาระหรือมาตรฐานต่างๆ เช่น วิธีการนำเข้าบทเรียน วิธีการเร้าความสนใจผู้เรียน ฯลฯ • เทคนิค (Techniques) -เทคนิคเฉพาะที่ประกอบเป็นวิธีการ เช่น การนำเข้าสู่บทเรียนด้วยการเล่านิทาน ฯลฯ

More Related