1 / 26

โครงงานสร้างสรรค์คอมพิวเตอร์

โครงงานสร้างสรรค์คอมพิวเตอร์. ขอต้อนรับสู่บทเรียน เรื่อง ระบบประสาท. เข้าสู่เมนูหลัก. ระบบประสาท. ระบบ ประสาท ( Nervous System). ระบบ ประสาทส่วนกลาง ( The Central Nervous System. สมอง ( Brain). การเกิดกระแสประสาท . ระบบ ประสาทรอบ นอก ( Peripheral Nervous System).

joella
Download Presentation

โครงงานสร้างสรรค์คอมพิวเตอร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โครงงานสร้างสรรค์คอมพิวเตอร์โครงงานสร้างสรรค์คอมพิวเตอร์ ขอต้อนรับสู่บทเรียน เรื่องระบบประสาท เข้าสู่เมนูหลัก

  2. ระบบประสาท ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System สมอง(Brain) การเกิดกระแสประสาท ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า กลับสู่หน้าหลัก

  3. ระบบประสาท (Nervous System) คือ ระบบการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์ ทำให้สัตว์สามารถตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ รอบตัว อย่างรวดเร็วช่วยรวบรวมข้อมูล เพื่อให้สามารถตอบสนองได้ สัตว์ชั้นต่ำบางชนิด เช่น ฟองน้ำไม่มีระบบประสาท สัตว์ไม่มี กระดูกสันหลังบางชนิดเริ่มมีระบบประสาทระบบประสาทของมนุษย์แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทส่วนกลาง และระบบประสาทรอบนอก เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  4. ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System ศูนย์กลางควบคุมการทำงานของร่างกาย ซึ่งทำงานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภายใต้อำนาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลังโดยเส้นประสาท หลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลางมีอวัยวะที่เกี่ยวข้องดังนี้ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  5. สมอง(Brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆของระบบประสาท ส่วนกลางทำหน้าที่ควบคุมการทำกิจกรรมทั้งหมดของร่างกายเป็นอวัยวะชนิดเดียวที่ แสดงความสามารถด้านสติปัญญา การทำกิจกรรมหรือการแสดงออกต่างๆสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังที่สำคัญแบ่งออกเป็น3 ส่วน ดังนี้ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  6. 1.1 เซรีบรัมเฮมิสเฟียร์ (Cerebrum Hemisphrer) คือ สมองส่วนหน้า ทำหน้าที่ควบคุมพฤติกรรรมที่ซับซ้อนเกี่ยวกับ ความรู้สึกและอารมณ์ควบคุมความคิด ความจำ และความเฉลียวฉลาด เชื่อมโยงความรู้สึกต่างๆเช่น การได้ยิน การมองเห็น การรับกลิ่น การรับรส การรับสัมผัส เป็นต้น เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  7. 1.2 เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla Oblongata) คือ ส่วนที่อยู่ติดกับไขสันหลัง ควบคุมการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจการเต้นของหัวใจ การไอ การจาม การกะพริบตา ความดันเลือด เป็นต้น เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  8. 1.3 เซรีเบลลัม (Cerebellum) คือ สมองส่วนท้าย เป็นส่วนที่ควบคุมการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและการทรงตัวช่วยให้เคลื่อนไหว ได้อย่างแม่นยำเช่น การเดิน การวิ่ง การขี่รถจักรยาน เป็นต้น เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  9. 2. ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจากสมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง กระแสประสาทจากส่วนต่างๆของร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแสประสาทเข้าและกระแสประสาทออกจากสมองและกระแสประสาทที่ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  10. ปล้องของไขสันหลัง ไขสันหลังของมนุษย์แบ่งออกเป็น 31 ปล้อง (segments) ในแต่ละปล้องจะมีคู่ของเส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve) ออกมาจากด้านซ้าย-ขวา ซึ่งเส้นประสาทเหล่านี้เป็นเส้นประสาทที่มีเส้นใยประสาทแบบผสม คือมีทั้งส่วนที่รับความรู้สึกและสั่งการ รากเล็กๆ ของประสาทสั่งการ (motor nerve rootlets) 6–8 เส้น จะงอกออกมาอย่างสม่ำเสมอจากแต่ละข้างของร่องด้านท้องร่วมด้านข้าง เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  11. รากประสาทซึ่งในส่วนของเส้นประสาทรับความรู้สึกเองก็เช่นกัน ที่จะมีเส้นรากประสาทเล็กๆ งอกออกมาจากบริเวณร่องด้านหลังร่วมด้านข้าง (dorsal lateral sulci; ร่องของไขสันหลังที่อยู่ด้านหลังและค่อนมาด้านข้าง) และรวมกันเป็นเส้นรากขนาดใหญ่ ทั้งรากประสาทส่วนรับความรู้สึกและสั่งการนั้นจะรวมกันอีกทีเป็นเส้นประสาทไขสันหลัง เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  12. ส่วนขยายช่วงคอ (Cervicalenlargement) การป่องออกบริเวณระดับคอซึ่งเป็นบริเวณท่อนส่วนไขสันหลังที่ C4 ถึง T1 ซึ่งเนื่องมาจากการที่มันให้เส้นประสาทข่ายประสาทแขน (brachial plexus nerves) ซึ่งเป็นกลุ่มเส้นประสาทที่เลี้ยงรยางค์บน (แขน) ซึ่งพบที่ระดับกระดูกสันหลัง C4-T1 เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  13. 3. เซลล์ประสาท (Neuron) เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของระบบประสาท เซลล์ประสาทมีเยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส เหมือนเซลล์อื่นๆ แต่มีรูปร่างลักษณะแตกต่างออกไป เซลล์ประสาทประกอบด้วยตัวเซลล์ และเส้นใยประสาทที่มี 2 แบบคือ เดนไดรต์ (Dendrite) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์และแอกซอน (Axon) ทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาทอื่นๆ เซลล์ประสาทจำแนกตามหน้าที่ การทำงานได้3 ชนิด คือ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  14. การเกิดกระแสประสาท เกิดจากกระแสไฟฟ้าเนื่องจากความต่างศักย์ของไอออนภายในเซลล์กับภายนอกเซลล์สิ่งเร้าชนิดต่าง ๆ เช่น เสียง ความร้อนสารเคมีสารเคมีที่มากระตุหน่วยรับความรู้สึกจะถูกเปลี่ยนให้เป็นกระแสประสาทจากการวิจัยของนักสรีรวิทยาหลายท่าน โดยเฉพาะ ฮอดจ์กิน (A.L. Hodgkin )ผู้ได้รับรางวัลโนเบลในปี พ.ศ. 2506 ทำให้ทราบว่ากระแสประสาทเกิดขึ้นได้อย่างไรโดยการนำไมโครอิเล็กโทรดซึ่งมีลักษณะคล้ายหลอดแก้วที่ดึงให้ยาว เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  15. 3.1 เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับความรู้สึกจากอวัยวะสัมผัส เช่น หู ตา จมูก ผิวหนัง ส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน 3.2 เซลล์ประสาทประสานงาน เป็นตัวเชื่อมโยงกระแสประสาทระหว่างเซลล์รับความรู้สึกกับสมอง ไขสันหลัง และเซลล์ประสาทสั่งการ พบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น 3.3 เซลล์ประสาทสั่งการ รับคำสั่งจากสมองหรือไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทำงานของอวัยวะต่างๆ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  16. การทำงานของระบบประสาทส่วนกลางการทำงานของระบบประสาทส่วนกลาง สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลหรือเส้นประสาทส่วนกลางเรียกว่า “ กระแสประสาท ” เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่นำไปสู่เซลล์ประสาททาง ด้านเดนไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วนใหญ่ มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทำหน้าที่เป็นฉนวนและทำให้กระแสประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  17. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System) ทำหน้าที่รับและนำความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลางได้แก่ สมองและไขสันหลังจากนั้นนำกระแสประสาทสั่งการจากระบบประสาท ส่วนกลางไปยังหน่วยปฎิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและอวัยวะรับสัมผัส รวมทั้งเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะการทำงานได้ 2 แบบ ดังนี้ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  18. ระบบประสาทรอบนอกจำแนกตามลักษณะการทำงานได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ระบบประสาทภายใต้อำนาจจิตใจ เป็นระบบควบคุมการทำงานของกล้ามเนื้อที่บังคับได้ รวมทั้งการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก 2. ระบบประสาทนอกอำนาจจิตใจ เป็นระบบประสาทที่ทำงานโดยอัตโนมัติ มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมองและไขสันหลัง ได้แก่ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  19. การเกิดรีเฟลกซ์แอกชัน (Reflex Action) และเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัสเช่น ผิวหนัง กระแสประสาทจะส่งไปยัง ไขสันหลัง และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนองไปยังกล้ามเนื้อ โดยไม่ผ่านไปที่สมอง เมื่อมีเปลวไฟมาสัมผัสที่ปลายนิ้วกระแสประสาท จะส่งไปยังไขสันหลังไม่ผ่านไปที่สมอง ไขสันหลังทำหน้าที่สั่งการให้กล้ามเนื้อที่แขนเกิดการหดตัว เพื่อดึงมือออกจากเปลวไฟทันที เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  20. พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าพฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์เป็นปฎิกิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อการโต้ตอบต่อสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกร่างกายเช่น • สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ เป็นต้น • สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้ำ การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  21. พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าพฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า ในมนุษย์ เชื่อกันว่าพฤติกรรมส่วนใหญ่อยู่ภายใต้การควบคุมของระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาท และเป็นที่เชื่อกันทั่วไปว่า ความซับซ้อนในพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิตสัมพันธ์กับความซับซ้อนของระบบประสาท ทั่วไปแล้ว สิ่งมีชีวิตที่มีระบบประสาทซับซ้อนกว่ามีความสามารถสูงกว่าในการเรียนรู้การตอบสนองใหม่ ๆ และดังนั้น จึงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  22. พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าพฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า กิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกอาศัยการทำงานที่ประสานกันระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อและระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  23. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้าการตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า ในวันที่มีอากาศร้อนจะมีเหงื่อมาก เหงื่อจะช่วยระบายความร้อนออกจากร่างกาย เพื่อปรับอุณหภูมิภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไปเมื่อมีอากาศเย็นคนเราจะเกิดอาการหดเกร็งกล้ามเนื้อ หรือเรียกว่า “ ขนลุก ” เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  24. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ เป็นพฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้ทันทีเพื่อความปลอดภัยจากอันตราย เช่น • เมื่อฝุ่นเข้าตามีพฤติกรรมการกระพริบตา • เมื่อสัมผัสวัตถุร้อนจะชักมือจากวัตถุร้อนทันที • เมื่อเหยียบหนามจะรีบยกเท้าให้พ้นหนามทันที เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  25. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ สิ่งมีชีวิตเซล์เดียวและสัตว์ชั้นต่ำ ระบบประสาทยังไม่เจริญดีหรือในโพรทิสซึ่งไม่มีระบบประสาท สามารถตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในสถาวะแวดล้อมโดยแสดงพฤติกรรมแบบรีเฟล็กซ์กล่าวคือ เป็ฯไปในลักษณะกระตุ้นและตอบสนองนั่นเอง เช่น พฤติกรรมที่เรียกว่า โอเรียนเตชัน เมนู หน้าหลัก ถัดไป ย้อนกลับ

  26. จบการนำเสนอแล้วค่ะ เมนู หน้าหลัก ย้อนกลับ

More Related