1 / 19

การดำเนินงานการแก้ไขปัญหายาเสพติด ของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด

การดำเนินงานการแก้ไขปัญหายาเสพติด ของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด. อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ. ลักษณะทั่วไปของอำเภอเมืองสมุทรปราการ. เป็นเมืองอุตสาหกรรมทำให้มีผู้ใช้แรงงานสับเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก

joel-dawson
Download Presentation

การดำเนินงานการแก้ไขปัญหายาเสพติด ของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินงานการแก้ไขปัญหายาเสพติดการดำเนินงานการแก้ไขปัญหายาเสพติด ของศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติด อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ

  2. ลักษณะทั่วไปของอำเภอเมืองสมุทรปราการ ลักษณะทั่วไปของอำเภอเมืองสมุทรปราการ • เป็นเมืองอุตสาหกรรมทำให้มีผู้ใช้แรงงานสับเปลี่ยนหมุนเวียนเข้ามาทำงานเป็นจำนวนมาก • ลักษณะเมืองเป็นชุมชนเมือง มีทั้งหมด จำนวน 90 หมู่บ้าน 59 ชุมชน • มีพื้นที่เป้าหมายตามแผนปฏิบัติการเร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติดที่รุนแรง จำนวน 8 หมู่บ้าน 1 ชุมชน • มีพื้นที่ที่ปรากฏข่าวสารว่ามีการแพร่ระบาด จำนวน 66 หมู่บ้าน 5 ชุมชน

  3. สภาพปัญหา ยาเสพติด • อำเภอเมืองสมุทรปราการ มีปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดจัดอยู่ในขั้นรุนแรงมาก • สืบเนื่องมาจากความหนาแน่นของประชากร - อำเภอเมืองสมุทรปราการมีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ จำนวน 488,606 คน ( ร้อยละ 51 ) - ประชากรแฝง จำนวน 239,416 คน (ร้อยละ 49 ) - และแรงงานต่างด้าว จำนวน 19,000คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 747,022 คน

  4. ความหนาแน่นของประชากร ปี 2552 3,830 1,133 111 123 96 75

  5. สถิติการปราบปรามจับกุมยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจทั้ง 3 สถานีตั้งแต่ ปี 2549 - 2552 ของกลางยาบ้าที่ยึดได้ • ปี 2549 จำนวน 80,000 เม็ด • ปี 2550 จำนวน 77,673 เม็ด • ปี 2549 จำนวน 106,699 เม็ด • ปี 2549 (ม.ค – ส.ค)จำนวน 105,565 เม็ด • ยึดทรัพย์สินรวม จำนวน 27,000,000 บาท

  6. แนวทางการแก้ไขปัญหา • มีการบูรณาการทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรวมทั้งภาคประชาชนร่วมกำหนดแผนและแก้ไขปัญหา • ด้านการปราบปราม - สร้างสายข่าว - สนธิกำลังทุกภาคส่วน จัดตั้งจุดตรวจ จุดสกัด • ด้านการป้องกัน - ดำเนินการค้นหาผู้เสพ โดยขบวนการชุมชนเข้มแข็ง ด้วยการสนธิกำลังทั้งฝ่ายปกครอง เจ้าหน้าที่ตำรวจ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตำรวจชุมชน ตั้งจุดตรวจจุดสกัดเพื่อระดมค้นหาผู้เสพและผู้ต้องสงสัยจากแหล่งข้อมูล และผู้ที่สมัครใจเข้ารับการบำบัด และค้นหาผู้ต้องสงสัยและจากแหล่งข้อมูลรับแจ้งจากประชาชน และแหล่งเสี่ยงทุกแห่งนำมาตรวจปัสสาวะ

  7. ด้านการบำบัดรักษา - นำกลุ่มผู้เสพและผู้ติดยาเสพติด เข้าค่ายพักแรมในค่ายสังคมจิตเวชศึกษา ระยะเวลา 8 วันเพื่อให้การบำบัดรักษาและฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ โดยจัดกิจกรรมอบรมทักษะชีวิต กิจกรรมนันทนาการ กลุ่มจิตสังคมบำบัด กลุ่มสัมพันธ์ อาชีวบำบัด หลักพุทธศาสนา กิจกรรมออกกำลังกาย - หลังออกจากค่ายส่งกลับสู่ชุมชน โดยประสานผู้นำองค์กร กำนันผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัครในชุมชนและประชาคมในพื้นที่ให้การติดตามดูแลต่อไป

  8. - หลังจากนั้นมีการติดตามและให้การช่วยเหลือภายหลังการบำบัดฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องในด้านสุขภาพ สังคม และการประกอบวิชาชีพโดยกำหนดระยะเวลาในการดูแลอย่างน้อย 1 ปี ( 1 เดือนแรกสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หลังจากนั้นเดือนละ 1 ครั้ง) โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และคณะกรรมการ ถ้าพบว่ามีการเสพซ้ำจะส่งให้เจ้าหน้าที่ตำรวจดำเนินคดีต่อไป

  9. สรุปผลดำเนินงานโครงการ ค่ายสังคมจิตเวชศึกษาอำเภอเมือง จังหวัดสมุทรปราการ • ดำเนินการจัดค่ายบำบัด ตั้งแต่ปี 2549 – 2552 จำนวน 29 รุ่น • มีผู้เข้ารับการบำบัดตามโครงการ จำนวน 3,705 คน ชาย 3,416 คน หญิง 309 คน

  10. ค่ายสังคมจิตเวช ปี 2549 • มีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 1,072 คน • ติดตามได้ จำนวน 643 คน • ไม่กลับไปเสพซ้ำ จำนวน 482 คน

  11. ค่ายสังคมจิตเวช ปี 2550 • มีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 633 คน • ติดตามได้ จำนวน 475 คน • ไม่กลับไปเสพซ้ำ จำนวน 408 คน

  12. ค่ายสังคมจิตเวช ปี 2551 • มีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 1,333 คน • ติดตามได้ จำนวน 1,224 คน • ไม่กลับไปเสพซ้ำ จำนวน 1,089 คน

  13. ค่ายสังคมจิตเวช ปี 2552ปัจจุบันดำเนินการได้ 5 รุ่น • มีผู้เข้ารับการบำบัดจำนวน 609 คน • ติดตามได้ จำนวน 609 คน • ไม่กลับไปเสพซ้ำ อยู่ระหว่างการติดตาม

  14. สรุปผลโครงการ ค่ายสังคมจิตเวชตั้งแต่ปี 2549 - 2552 • ติดตามได้ 78% จำนวน 2,480คน • ไม่กลับไปเสพซ้ำ 87% จำนวน 2,180 คน • อยู่ระหว่างการติดตาม จำนวน 690 คน

  15. แนวทางการดำเนินงาน ในปี 2553 • ด้านการปราบปราม - สนธิกำลังฝ่ายปกครอง ตำรวจ กำนันผู้ใหญ่บ้าน อาสาสมัคร ป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน ตำรวจชุมชน ตั้งจุดตรวจสกัด - สร้างสายข่าวในชุมชน หมู่บ้าน ให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ

  16. ด้านการป้องกัน - รั้วชุมชน มีเป้าหมายสร้างชุมชนเข้มแข็ง และยั่งยืนด้วยการสร้างความเข้าใจและเข้าถึง เพื่อให้เกิดความไว้วางใจ และความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาร่วมกัน - รั้วสังคม มีเป้าหมายให้มีสถานบริการ สถานประกอบการ และโรงงาน ปลอดยาเสพติดด้วยมาตรการ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมกำหนดเป้าหมาย - รั้วโรงเรียน มีเป้าหมายให้โรงเรียนเป็นสีขาวปลอดยาเสพติด ด้วยมาตรการให้ครูอาจารย์ ผู้ปกครองนักเรียน ร่วมรับรู้ปัญหา ตระหนักถึงปัญหา และแนวทางการเฝ้าระวัง รวมทั้งการจัดกิจกรรมให้เด็กนักเรียนได้มีโอกาสแสดงออกในด้านการกีฬา และการออกกำลังกายมากขึ้น

  17. ด้านการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติดด้านการบำบัดรักษาผู้เสพยาเสพติด - พัฒนาศักยภาพของ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อเฝ้าติดตามผู้ผ่านการบำบัดจากค่ายบำบัด - การบำบัดในเชิงรุก โยจะมีหน่วยงานเคลื่อนที่เข้าไปบำบัดดูแลรักษา ในสถานประกอบการ ด้วยระบบ ( MATRIX PROGRAM ) - จัดให้มีชมรมเพื่อนช่วยเพื่อน เพื่อช่วยเหลือผู้ที่ผ่านการบำบัดจากค่ายเพื่อให้มีกำลังใจ รวมทั้งการเพิ่มทักษะชีวิต

  18. อุปสรรคและปัญหา • จุดอ่อน อำเภอเมืองสมุทรปราการ - มีประชากรหนาแน่นมาก รวมทั้งประชากรแฝงที่เข้ามาทำงานใน พื้นที่ • จุดแข็ง อำเภอเมืองสมุทรปราการ - ความเข้มแข็งของเจ้าหน้าที่ทุกฝ่าย - มีการตระหนักถึงปัญหา และร่วมแก้ไขปัญหาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้การสนับสนุนในเรื่องของงบประมาณ

  19. จบแล้ว ครับ..

More Related