1 / 39

กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร

กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร. โดย ดร.ธนู หาญพัฒนพานิชย์ นายธรรมนูญ มโนสุทธิกิจ 5 ม.ค. 48. ผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน. เขื่อนพังเนื่องจากการฉีกขาดของรอยเลื่อน ( Fault Break ) เขื่อนทรุดเนื่องจากการสั่นสะเทือน ( Vibration )

jill
Download Presentation

กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมชลประทานได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร โดย ดร.ธนู หาญพัฒนพานิชย์ นายธรรมนูญ มโนสุทธิกิจ 5 ม.ค. 48

  2. ผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อนผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน • เขื่อนพังเนื่องจากการฉีกขาดของรอยเลื่อน (Fault Break) • เขื่อนทรุดเนื่องจากการสั่นสะเทือน (Vibration) • เขื่อนพังเนื่องจากดินเหลว (Liquefaction)

  3. เขื่อนพังเนื่องจาก Fault Break(Chi-Kang Dam, Taiwan จาก Chi-Chi Earthquake ขนาด 7.6 Mw วันที่ 20 ก.ย. 42 )

  4. เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration(เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

  5. เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration(เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

  6. เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration(เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

  7. เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration(เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

  8. เขื่อนทรุดเนื่องจาก Vibration(เขื่อนชลประทาน India จาก Bhuj Earthquake, 7.4 Mw 26 ม.ค. 44)

  9. เขื่อนพังเนื่องจาก Liquefaction(Sheffield Dam, USA)

  10. การออกแบบเขื่อนต้านแผ่นดินไหวของกรมชลประทานอ้างอิงจาก...การออกแบบเขื่อนต้านแผ่นดินไหวของกรมชลประทานอ้างอิงจาก... • แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ (ของกรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) มิถุนายน 2545 • ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว (Seismic Coefficient)ในประเทศไทยจากแผนที่ความเสี่ยงภัยและเขตความเสี่ยงภัย ของ ดร. เป็นหนึ่งและคณะ AIT 2537

  11. แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบแนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

  12. แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบแนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

  13. แนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบแนวทางและหลักเกณฑ์การออกแบบเขื่อนเก็บกักน้ำและอาคารประกอบ

  14. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของดร.เป็นหนึ่ง)

  15. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวของ ดร.เป็นหนึ่ง ได้มาอย่างไร? • Seismic source zone ของ ดร.ปริญญา • Seismic zonation map ของ ดร.เป็นหนึ่ง

  16. Seismic Source Zone ของ ดร.ปริญญา

  17. Seismic Source Zone ของ ดร.ปริญญา

  18. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

  19. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

  20. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

  21. ค่าสัมประสิทธิ์ของความสั่นสะเทือนแผ่นดินไหวในประเทศไทย (ของ ดร.เป็นหนึ่ง)

  22. การกำหนด Seismic Zone ของคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

  23. การกำหนด Seismic Zone ของคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

  24. การกำหนด Seismic Zone ของคณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ

  25. กรมชลประทานได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร ประเด็นปัญหา • ค่าทางสถิติเปลี่ยนจากค่าสูงสุด จากขนาด Mw 7.6 เป็นขนาด Mw 9.0 • คาบอุบัติซ้ำ (Return Period) เปลี่ยนไป • Seismic Source Zone ไม่ครอบคลุม

  26. ของใหม่ต้องเป็นอย่างไร?ของใหม่ต้องเป็นอย่างไร? • ขนาดแผ่นดินไหวที่ใหญ่ขึ้น • Seismic source map ใหม่ของ ดร.ปัญญา • การแบ่ง Source zone ให้ครอบคลุมแหล่งแผ่นดินไหวโดยรอบทั้งหมด • Return period ใหม่ • ข้อมูลแผ่นดินไหวจากการวัดมีเพิ่มขึ้นจากปี 2537

  27. ขนาดแผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้นขนาดแผ่นดินไหวที่รุนแรงขึ้น

  28. Seismic Source Map ใหม่ของดร.ปัญญา

  29. Return period ใหม่ ??? • ยังไม่มี • สอบถาม ดร.เป็นหนึ่ง ยืนยันว่า หากจะทำใหม่ ต้องใช้เวลา • อย่าง น้อย 2 ปี (จะทำอยู่แล้วแต่ต้องใช้นักศึกษา) • - ถ้าจ้างให้ทำ ใช้เวลาประมาณ 1 ปี

  30. กรมชลประทานจะทำอย่างไรกับ…กรมชลประทานจะทำอย่างไรกับ… • เขื่อนที่จะสร้างใหม่ • เขื่อนที่มีอยู่แล้ว

  31. เขื่อนที่จะสร้างใหม่ • รอหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมทรัพยากรธรณี, คณะกรรมการแผ่นดินไหวแห่งชาติ จัดทำ Seismic Code ใหม่ • ระหว่างที่รอ ใช้มาตรการด้าน Factor of Safety เพิ่มเติม • ปัญหาคือ ไม่สามารถยืนยันว่าถูกต้อง (Over หรือ UnderConservative) • ดำเนินการจัดทำเอง – ต้องเร่งทำใหม่ ขึ้นมาใช้เอง • ปัญหาคือ ต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านนี้มาช่วยทำ

  32. เขื่อนเก่าที่มีอยู่แล้วเขื่อนเก่าที่มีอยู่แล้ว • ประเมินความเสี่ยงด้านแผ่นดินไหวใหม่ทั้งหมด • คัดเลือกเขื่อนที่มีความเสี่ยงในลำดับสูง มาวิเคราะห์ทบทวนความมั่นคง และปรับปรุงตามความเหมาะสม • จัดให้มีการรองรับความเสี่ยง แต่ยังไม่ดำเนินการกับตัวเขื่อน

  33. ความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่(neic.usgs.gov)ความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่(neic.usgs.gov)

  34. จาก International Water Power & Dam Construction March, 2002

  35. “ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับนโยบาย”

  36. แนวทางการปฏิบัติ

  37. ขอบคุณ Thank You

More Related