1 / 24

Chapter 2 Global Logistic Management

Chapter 2 Global Logistic Management. Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50. Chapter Agenda. เหตุใดจึงต้องมีการจัดการโลจิสติกส์ ระดับโลก รูปแบบการดำเนินงานโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ เอกสารในการส่งออก เงื่อนไขทางการค้า กลุ่มการค้า

jethro
Download Presentation

Chapter 2 Global Logistic Management

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Chapter 2Global Logistic Management Kulachatr C. Na Ayudhya Naresuan University Payao Campus Semester 1/50

  2. Chapter Agenda • เหตุใดจึงต้องมีการจัดการโลจิสติกส์ ระดับโลก • รูปแบบการดำเนินงานโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ • เอกสารในการส่งออก • เงื่อนไขทางการค้า • กลุ่มการค้า • ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนิน โลจิสติกส์ระหว่างประเทศ • แนวโน้มธุรกิจระหว่างประเทศ

  3. การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก • เหตุใดจึงต้องมีการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก • บริษัทต่างๆ ทั้งเล็ก กลางใหญ่ต่างมีความต้องการดำเนินธุรกิจระหว่างประเทศ • ศักยภาพของตลาดต่างประเทศมีมาก • กำลังการผลิตในปัจจุบันเหลืออยู่ ต้องการระบายสินค้าสู่ต่างประเทศ • สินค้าในประเทศเริ่มเสื่อมคลาย แต่ยังเติบโตได้ในต่างประเทศ • หลบเลี่ยงการแข่งขันภายในประเทศจากบริษัทข้ามชาติ • การขยายการลงทุนสู่ต่างประเทศ ช่วยลดค่าแรงงาน ลดภาษี • ลดความเสี่ยงเนื่องจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ เหตุผลเหล่านี้ทำให้ธุรกิจต้องหันมาให้ความสำคัญกับโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ

  4. ร้อยละยอดขายภายนอกประเทศของบริษัทข้ามชาติชั้นนำร้อยละยอดขายภายนอกประเทศของบริษัทข้ามชาติชั้นนำ

  5. มูลค่าโลจิสติกส์ในแต่ละประเทศมูลค่าโลจิสติกส์ในแต่ละประเทศ

  6. รูปแบบการดำเนินงานโลจิสติกส์ระหว่างประเทศรูปแบบการดำเนินงานโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ • International business • Multinational corporation • Global company • Transnational company • Export • Licensing • Joint Venture • Ownership • Import • Counter trade

  7. International business • กิจกรรมการตลาดที่ดำเนินข้ามเขตของประเทศ หรือค้าข้ามพรมแดน • ตัวอย่าง การส่งออกทั่วๆไป การจัดกิจกรรมการตลาดในต่างประเทศ • กิจกรรมและความรับผิดชอบ • จัดเตรียมกิจกรรมทางการตลาดที่มีความสะดวกและความเคยชินที่ต้องการไปยังประเทศอื่นๆ โดยขึ้นอยู่กับความแตกต่างของสภาวะแวดล้อม เช่น ภาษา เวลา • การสนับสนุนและการประเมินความพยายามทางการตลาด

  8. Multinational corporation • กลุ่มความร่วมมือทางธุรกิจหลายประเทศ มีการขยายจากธุรกิจระหว่างประเทศ ลงทุนและควบคุมมากกว่า 1 ประเทศ • กิจกรรมการตลาดที่ดำเนินอยู่ในต่างประเทศโดยบริษัทในประเทศที่มีความแตกต่างจากกิจกรรมภายในประเทศ • ตัวอย่าง เช่น บริษัท CP ดำเนินกิจการอยู่ในประเทศจีน • กิจกรรมและความรับผิดชอบ • การสร้าง ปฏิบัติการและควบคุมกลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของกิจการ • ต้องเผชิญกับความต้องการและความจำเป็นของตลาดเป้าหมายหรือส่วนตลาด

  9. Global company • การประสานงาน การประสมประสาน การควบคุมกิจกรรมการตลาดที่มีความแน่นอน โดยมีเป้าหมายของกิจการเพื่อให้ได้รับพร้อมกันทั้งตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ • มีการบูรณาการการตลาดที่แตกต่างกันให้เป็นหนึ่งเดียว โดยมองโลกเป็นตลาดเดียวกัน • ตัวอย่าง เช่น การพัฒนาสินค้าหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์ที่มี Brand ระดับโลก เช่น Coca Cola , Gillette , 3M • กิจกรรมและความรับผิดชอบ • พยายามประสานความพยายามทางการตลาดทั้งการตลาดระหว่างประเทศและการตลาดต่างประเทศ โดยการรักษายอดขายและตำแหน่งทางการตลาดทั้งภายในและภายนอกประเทศอย่างสอดคล้อง

  10. Export การส่งออก คือ การขายสินค้าจากประเทศตนเองไปยังประเทศอื่น โดยมากมักใช้บริการตัวกลางในการขนส่ง เรียกว่าผู้รับจัดการขนส่ง (Freight Forwarder) ผู้กระจายสินค้า (Distributor) และบริษัทซื้อมาขายไป (Trading Company) ข้อดี คือ ลดความเสี่ยงจากการลงทุนในต่างประเทศ แต่มีข้อเสีย คือ มีความยุ่งยากในการเข้าแข่งขันกับเจ้าของประเทศ และอาจถูกกีดกันทางการค้า การตั้งกำแพงภาษี จำกัดโควตานำเข้า และความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทางการเงิน ไม่สามรถควบคุมทางการตลาดได้ Licensing การให้สิทธิทางการค้า คือ การที่ผู้เป็นเจ้าของสิทธิ (Licensor) ให้ผู้รับสิทธิ (Licensee) ในประเทศใดประเทศหนึ่งใช้ทักษะ ความรู้ แนวปฏิบัติ การผลิต ตราสินค้าและความช่วยเหลือด้านเทคนิคต่างๆ ในการดำเนินการทางธุรกิจ ข้อดี ช่วยให้กิจการสามารถควบคุมในการทำธุรกิจและกระจายสินค้าดีกว่าการส่งออก ช่วยลดความเสี่ยงจากการดำเนินงาน เพราะเป็นธุรกิจที่มีการดำเนินงานเป็นต้นแบบอยู่ก่อนหน้าแล้ว ข้อเสีย อาจถูกเลิกสัญญาได้และเป็นข้อผูกมัด ขาดอิสระในการดำเนินงาน อีประเด็นคือผู้รับสิทธิอาจกลายเป็นคู่แข่งในอนาคต Transnational companyบริษัทที่โอนความรับผิดชอบไปยังประเทศที่ลงทุน มีด้วยกันหลายลักษณะ

  11. Joint Venture ในกรณีที่ผู้บริหารต้องการควบคุมกิจการที่อยู่ในต่างประเทศมากกว่าที่อยู่ในข้อตกลง และไม่ต้องการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรในประเทศนั้นๆ ข้อเสีย มีความเสี่ยงสูงเพราะต้องลงทุนกับผู้ประกอบการในประเทศเจ้าของ มีโอกาสเข้าร่วมบริหารในสัดส่วนที่น้อยกว่าเจ้าของประเทศ และอาจพบปัญหาจากการลงทุน ติดระเบียบข้อบังคับหรือกฎหมายของประเทศนั้น Ownership การเข้าไปดำเนินงานในต่างประเทศโดยเป็นเจ้าของกิจการเองโดยตรง หรือเข้าไปถือหุ้นบริษัทลูกในต่างประเทศ อาจอยู่ในลักษณะซื้อกิจการในต่างประเทศ ควบรวมกิจการหรือ ขยายธุรกิจเข้าไป ข้อดี ลดปัญหาเรื่องการนำเข้าต่างๆ เช่น มาตรการภาษี โควตานำเข้า ระเบียบศุลกากร ข้อเสีย อาจประสบความผันผวนทางเศรษฐกิจ การเมืองในประเทศนั้นๆ การเลิกกิจการทำได้ยากและไม่สามารถถ่ายโอนหรือเปลี่ยนมือได้อย่างรวดเร็ว เพราะมีการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรมาก Transnational company

  12. Import การนำเข้า เป็นการทำธุรกิจต่างแดนอีกลักษณะ โดยมากเป็นการนำเข้าสินค้าที่ไม่มีจำหน่ายในประเทศตนเอง เป็นการซื้อและจัดส่งสินค้าจากต่างประเทศ ส่วนมากมักมีนายหน้าเจรจาการนำเข้ามักเป็นผู้รับอนุญาตจากกระทรวงการคลังในฐานะตัวแทนจากกรมศุลกากร Counter trade การแลกเปลี่ยนสินค้า คือ การนำเข้าสินค้าบางชนิดจากประเทศที่กิจการได้มีการขายสินค้าบางชนิดไปให้ โดยใช้สินค้าแลกเปลี่ยนกันแทนการชำระหนี้ด้วยเงิน นอกจากนี้ยังมีระบบการขอคืนภาษี หากสินค้าที่ขายไปนั้นใช้เพื่อการผลิตหรือส่งออกเพื่อส่งเสริมการลงทุนในประเทศนั้นๆ จะได้รับการคืนภาษี Transnational company

  13. การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก

  14. การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก

  15. การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก

  16. การจัดการโลจิสติกส์ระดับโลกการจัดการโลจิสติกส์ระดับโลก

  17. กลุ่มการค้า • กลุ่มการค้า หมายถึง กลุ่มประเทศต่างๆ ในแต่ละภูมิภาคของโลกที่จับมือกันภายใต้ข้อตกลงทางการค้าระหว่างกัน ในเรื่องการเจรจาการค้า ภาษีต่างๆ การส่งมอบสินค้า เพื่อสร้างความสะดวกในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่างกันเฉพาะกลุ่มประเทศนั้นๆ • ภูมิภาคหลักที่มีข้อตกลงทางการค้าในกลุ่ม ได้แก่ อเมริกาเหนือ ยุโรปตะวันตกและ เอเชียแปซิฟิค ซึ่งรวมกันแล้วมีผลผลิตทางด้านเศรษฐกิจรวม 80% ของโลก

  18. กลุ่มการค้าที่สำคัญในโลกกลุ่มการค้าที่สำคัญในโลก EU APEC NAFTA TAF FTA ASEAN CAI ATP APEC

  19. ข้อตกลงในกลุ่มการค้าต่างๆ ที่สำคัญ • Free Trade Area (FTA) • NAFTA (North America Free Trade Agreement) • การยกเลิกกำแพงภาษีศุลกากรในปี 2004 • การยกระดับความสามารถของผู้นำโลจิสติกส์สินค้าข้ามพรมแดน • เปิดเสรีการลงทุนจากต่างประเทศ สามารถเข้าไปทำธุรกิจต่างประเทศในกลุ่มได้ • สร้างมาตรฐานพิกัดภาษีศุลกากร ระเบียบท้องถิ่น ข้อบังคับเรื่องบรรจุภัณฑ์ • ข้อตกลงเรื่องราคาค่าขนส่ง มาตรฐานขนาดตู้คอนเทนเนอร์ และการใช้ EDI • EU (European Union) • ข้อตกลงในการใช้สกุลเงินร่วมกัน (เงิน ECU) • ข้อตกลงการใช้อัตราภาษีที่เท่ากัน • ข้อตกลงในการนำมาตรฐาน ISO เข้ามาใช้ทุกรูปแบบ • การกำหนดจำนวนทำเลที่ตั้งโลจิสติกส์ที่ให้ผลดีที่สุด • การใช้สิ่งอำนวยความสะดวกในระบบโลจิสติกส์ร่วมกันในเขตการค้า เช่น EURO Tunnel

  20. ข้อตกลงในกลุ่มการค้าต่างๆ ที่สำคัญ • Free Trade Area (FTA) • ASEAN (เขตการค้าเสรีอาเซียน : ASEAN Free Trade Area ; AFTA ) ได้แก่ บรูไน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม เน้นเศรษฐกิจและปกป้องการค้าในภูมิภาค ในปี 2532 ได้มีการตั้งกลุ่มความร่วมมือทางเศรษฐกิจแห่งเอเชียแปซิฟิค (Asia Pacific Economic Cooperation ; APEC) โดยรวมประเทศใน ASEAN และ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น จีน ฮ่องกง เกาหลี ไต้หวัน แคนาดา และ สหรัฐ รวม 18 ประเทศ มีเป้าหมายขจัดการปกป้องทางการค้า ส่งเสริมการค้าเสรี ขจัดความขัดแย้งทางการค้า กิจการที่นำสินค้าเข้าออกยังกลุ่มประเทศชายฝั่งแปซิฟิค ต้องตระหนัก ถึงความแตกต่างทางเศรษฐกิจ การเมือง

  21. ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ ที่มาของภาพโดย คำนาย อภิปรัชญาสกุล,โลจิสติกส์และการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธ์ทำให้รวยช่วยประหยัด”, --กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นัฐพร , 2546

  22. ผู้ขายในประเทศ (Exporter) ผู้อำนวยความสะดวกในการส่งออก (Freight forwarder) หน่วยงานภาครัฐในประเทศ (Domestic Government) หน่วยงานภาครัฐในต่างประเทศ (Foreign Government) ธนาคารในต่างประเทศ (Foreign Bank) ธนาคารในประเทศไทย (Domestic Bank) ผู้ขนส่งในประเทศ (Domestic Carrier) ผู้ขนส่งระหว่างประเทศ (Freight forwarder) ท่าขนส่งในประเทศ (Thai port and airport) ท่าขนส่งในต่างประเทศ (Foreign port and airport) ผู้ขนส่งในต่างประเทศ (Foreign Carrier) ผู้ซื้อในต่างประเทศ (Importer) ผู้ที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการโลจิสติกส์ระหว่างประเทศ

  23. แนวโน้มธุรกิจระหว่างประเทศแนวโน้มธุรกิจระหว่างประเทศ • เน้นความเร็วในการตอบสนองด้านการตลาด (Market driven policy) • Vendor Managed Inventory (VMI) • E-Business • E-Commerce • CRM • E-Advertising • E- Marketplace

More Related