1 / 68

ระบบบริหารความเสี่ยงงานสนับสนุน

ระบบบริหารความเสี่ยงงานสนับสนุน. โดย นพ.ไชยสิทธิ์ เทพชาตรี และคณะ โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก. หัวข้อการบรรยาย. การบริหารความเสี่ยง Human Factor Engineering ความเสี่ยงในงานสนับสนุน. การบริหารความเสี่ยง. ความหมาย

Download Presentation

ระบบบริหารความเสี่ยงงานสนับสนุน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระบบบริหารความเสี่ยงงานสนับสนุนระบบบริหารความเสี่ยงงานสนับสนุน โดย นพ.ไชยสิทธิ์ เทพชาตรี และคณะโรงพยาบาลสุไหงโก-ลก

  2. หัวข้อการบรรยาย • การบริหารความเสี่ยง • Human Factor Engineering • ความเสี่ยงในงานสนับสนุน

  3. การบริหารความเสี่ยง ความหมาย • ความเสี่ยง คือโอกาสที่จะประสบกับความสูญเสีย ต่อร่างกาย จิตใจ ทรัพย์สิน ชื่อเสียง หรือสิ่งที่ไม่พึงประสงค์ เช่นการบาดเจ็บ ความเสียหาย เหตุร้าย การไม่พิทักษ์สิทธิ์/ศักดิ์ศรี

  4. การบริหารความเสี่ยง ความหมาย • การบริหารความเสี่ยง ( Risk Management ) คือการรับรู้และจำกัดความเสี่ยงเพื่อลดโอกาสและปริมาณของความสูญเสียที่จะเกิดขึ้น

  5. การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการจัดการเพื่อลดหรือป้องกันความเสี่ยงที่อาจ จะเกิดขึ้นกับผู้ใช้บริการ ผู้ให้บริการ โดยมีการดำเนินการอย่างเป็นระบบครอบคลุม การค้นหาความเสี่ยง การวิเคราะห์ การจัดการแก้ไขและป้องกัน การประเมินผลเชิงระบบ

  6. ใครมีหน้าที่บริหารความเสี่ยง.......ใครมีหน้าที่บริหารความเสี่ยง....... เป็นหน้าที่ของทุกคนจะต้องค้นหา ทบทวน แก้ไข ป้องกันและรายงานความเสี่ยงที่เกิดขึ้น

  7. กระบวนการบริหารความเสี่ยง ( Risk Management Process ) • การค้นหาความเสี่ยง ( Risk Identification ) • การประเมินความเสี่ยง ( Risk Assessment ) • การจัดการกับความเสี่ยง( Action to Manage Risk ) • การประเมินผล ( Evaluation )

  8. 1.การค้นหาความเสี่ยง 1. เรียนรู้ประสบการณ์จากในอดีต 2. ประสบการณ์ของคนอื่น 3. กระบวนการทำงาน 4. เพื่อนนอกหน่วยงาน/นอกรพ.

  9. 2.การประเมินความเสี่ยง2.การประเมินความเสี่ยง คือ ..การประมาณระดับความเสี่ยง และการตัดสิน ว่าความเสี่ยงนั้นอยู่ในระดับที่ยอมรับได้หรือไม่โดยคำนึงถึง ความรุนแรงและโอกาสที่จะเกิดอันตราย เพื่อนำมาพิจารณาว่าเป็นความเสี่ยงที่ยอมรับได้ หรือยอมรับไม่ได้ และการวางแผนควบคุมความเสี่ยงที่ยอมรับไม่ได้

  10. ตารางวิเคราะห์ความเสี่ยงตารางวิเคราะห์ความเสี่ยง สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล RM:18

  11. 3.การจัดการ/ควบคุมความเสี่ยง3.การจัดการ/ควบคุมความเสี่ยง • การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง ( Risk avoidance ) • การผ่องถ่ายความเสี่ยง ( Risk transfer ) • การป้องกันความเสี่ยง ( Risk prevention ) • การแบ่งแยกความเสี่ยง ( Risk segregation ) • การลดความสูญเสียหลังจากเกิดเหตุการณ์ ( loss reduction )

  12. 4. ประเมินผล • การติดตามเครื่องชี้วัด อุบัติการณ์ ความเสี่ยงหน่วยงานประจำเดือน • การทบทวนประสบการณ์เบื้องหลังเครื่องชี้วัดเกี่ยวกับความเสี่ยงประจำปี • เกิดซ้ำ ทั้งที่มีมาตรการป้องกัน • เหตุการณ์เดี่ยวหรือเป็นเรื่องของระบบ • การตรวจสอบความเสี่ยงที่เกิดขึ้นใหม่ๆเพื่อประเมินว่าต้องใช้กลยุทธ์ใหม่เพิ่มขึ้นหรือไม่

  13. สรุปกระบวนการบริหารความเสี่ยงสรุปกระบวนการบริหารความเสี่ยง ค้นหาความเสี่ยง -ศึกษาจากอดีต -สำรวจในปัจจุบัน -เฝ้าระวังไปข้างหน้า ควบคุมความเสี่ยง -หลีกเลี่ยง -ป้องกัน -ถ่ายโอน -แบ่งแยก -ลดความสูญเสีย การจ่ายเงินชดเชย ประเมินความเสี่ยง ประเมินผลระบบ

  14. สรุปการบริหารการความเสี่ยงระดับหน่วยงานสรุปการบริหารการความเสี่ยงระดับหน่วยงาน • ค้นหา,วิเคราะห์ความเสี่ยงในหน่วยงานจากกระบวนการหลักในการทำงาน ,สำรวจความเสี่ยงในหน่วยงาน ฯลฯ • มีการรายงานเหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ (Hospital Occurrence Rate ) ในใบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง และส่งให้คณะกรรมการ RM • มีการทบทวนความเสี่ยงเพื่อหาแนวทางแก้ไข และพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง ( CQI ) ทุกเดือน • จัดทำบัญชีรายการความเสี่ยงในหน่วยงาน ( Risk Profile )และมาตรการควบคุมป้องกันความเสี่ยง

  15. อุบัติการณ์ความเสี่ยงคืออะไร????อุบัติการณ์ความเสี่ยงคืออะไร???? คือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้น

  16. การรายงานอุบัติการณ์มีความสำคัญอย่างไร ? • รวบรวมบันทึกเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น • รวบรวมเป็นบทเรียนเพื่อการแก้ไข • สร้างวัฒนธรรมในการเรียนรู้ร่วมกันโดยไม่กล่าวโทษกัน

  17. รายงานอุบัติการณ์ • รายงานอุบัติการณ์ • เป็นการระบุเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการดูแลผู้ป่วยตามปกติ • เป็นการระบุปัญหาและผลที่ตามมา • ไม่แทรกความคิดเห็น • ไม่ได้เป็นการตำหนิหรือกล่าวโทษเพื่อนร่วมงาน • ไม่ได้เป็นการยอมรับว่าละเลย • นำไปสู่การตั้งคำถามต่อวิธีปฏิบัติที่ข้องใจ การรายงานอุบัติการณ์ - ไม่กล่าวโทษใคร ไม่มีต้องกลัวมีความผิด เราเน้นที่ความผิดพลาดของระบบ แก้ไขเชิงระบบ

  18. 1.ค้นหาและรายงานอุบัติการณ์1.ค้นหาและรายงานอุบัติการณ์

  19. 2.ประเมินความรุนแรง

  20. 3.ควบคุม และหาทางแก้ปัญหา

  21. โปรแกรมระบบบริหารความเสี่ยงโปรแกรมระบบบริหารความเสี่ยง

  22. - เมนู “บันทึกข้อมูลอุบัติการณ์” เป็นการบันทึกข้อมูลอุบัติการณ์โดยกรอกข้อมูลตามรายละเอียด

  23. ข้อมูลระบบรายงานอุบัติการณ์ความเสี่ยง (RMIS)

  24. รายงานของระบบอุบัติการณ์ความเสี่ยงรายงานของระบบอุบัติการณ์ความเสี่ยง

  25. ระดับความรุนแรงของความเสี่ยงทั่วไปแบ่งเป็น 4 ระดับคือ • ระดับ ใกล้พลาด (near miss)พบก่อนเกิดความเสี่ยงต่อผู้รับบริการ (คิดว่าจะทำ จะเกิด แต่ยังไม่ได้ทำ ไม่ได้เกิด) • ระดับ 1เกิดความเสี่ยงแล้ว ไม่เกิดผลรุนแรงต่อผู้รับบริการ • ระดับ 2เกิดความเสี่ยงแล้วและมีผลเล็กน้อยถึงปานกลางต่อผู้รับบริการ • ระดับ 3เกิดความเสี่ยงแล้วและมีผลรุนแรงต่อผู้รับบริการหรือชื่อเสียงของโรงพยาบาล

  26. การจัดการความเสี่ยง • เชิงรุก เป็นการเฝ้าระวังความเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดขึ้นได้แก่ • FMEAทำในกรณีที่เหตุการณ์นั้นยังไม่เกิดขึ้น แต่มีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้น ได้ โดยการเรียนรู้จากเหตุการณ์ของหน่วยงานอื่น หรือกระบวนการที่อาจจะทำให้เกิดความผิดพลาด • เชิงรับ • RCAคือการวิเคราะห์หาสาเหตุราก ทำเมื่อเกิดเหตุการณ์ที่รุนแรง หรือเกิดบ่อยครั้ง เพื่อปรับปรุงระบบและกระบวนการรักษาพยาบาล โดยทีมผู้ที่เกี่ยวข้อง

  27. สรุปการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้นสรุปการจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น

  28. การแก้ปัญหารากเหง้า(RCA)การแก้ปัญหารากเหง้า(RCA) การแก้ปัญหารากเหง้า (Root Cause Analysis : RCA) • หมายถึง การวิเคราะห์ ต้นเหตุหรือบ่อเกิด ที่ทำให้เกิดปัญหาขึ้น • มุ่งเน้นปรับปรุงระบบและกระบวนการนั้นๆ ไม่ใช่การทำงานของแต่ละบุคคลเพื่อหาโอกาสปรับปรุงระบบอันนำไปสู่การลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ดังกล่าวซ้ำ • เริ่มจากสาเหตุพิเศษ ( Special cause ) ในกระบวนการ ไปสู่สาเหตุร่วมของระบบ ( Common cause ) • ต้องวิเคราะห์อย่างครอบคลุม เป็นที่น่าเชื่อถือ • ผลการวิเคราะห์จะต้องชัดเจน ถูกต้อง สอดคล้องกับระบบ • มีแนวทางการแก้ไข ป้องกัน ที่ชัดเจน เป็นรูปธรรม

  29. วิธีการค้นหาสาเหตุและแก้ปัญหาวิธีการค้นหาสาเหตุและแก้ปัญหา • การแก้ปัญหาเชิงบุคคล (Personal approach) • การแก้ปัญหาเชิงระบบ (Systemic approach)

  30. การแก้ปัญหาเชิงบุคคล • เป็นแนวคิดดังเดิมที่มุ่งเน้นมองหาความผิดพลาดของคนที่ปลายเหตุโดยเชื่อว่าความผิดพลาดของมนุษย์เกิดจากความบกพร่องด้านจิตใจ เช่น การหลงลืม เหม่อลอย เฉื่อยชา ไม่ระมัดระวัง ละเลย สะเพร่า เป็นต้น ทางแก้ไข คือ การควบคุมพฤติกรรมของมนุษย์โดยการกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบ การเตือน การควบคุมกำกับ และมาตรการลงโทษ ผู้ที่ใช้แนวคิดนี้จะมีทัศนคติว่า คนที่ทำพลาดเป็นคนผิด

  31. การแก้ปัญหาเชิงระบบ • มีสมมติฐานที่สำคัญ คือ “มนุษย์ทำพลาดได้ แม้จะอยู่ในองค์กรที่มีการจัดการดีที่สุด” แนวคิดนี้มองว่าความผิดพลาดเป็นผลลัพธ์มากกว่าที่จะเป็นสาเหตุโดยเปรียบระบบที่ล้มเหลวเสมือนกับดักที่รออยู่ในการทำงานให้มนุษย์กระทำความผิดเหล่านั้น แนวคิดดังกล่าวนี้เชื่อว่า การป้องกันความผิดพลาดไม่ใช่การเปลี่ยนพฤติกรรมมนุษย์ แต่อาศัยการเปลี่ยน สิ่งแวดล้อม หรือระบบของผู้ปฏิบัติงานมากกว่า

  32. การแก้ปัญหาเชิงบุคคล (person approach) บกพร่องทางจิตใจ หลงลืม เฉื่อยชา วิธีแก้ไข ควบคุมพฤติกรรม กฎเกณฑ์ ระเบียบ บทบาทจูงใจ ลงโทษ การแก้ปัญหาเชิงระบบ(System approach) มนุษย์ทำพลาดได้แม้อยู่ในองค์การที่มีการจัดการดีที่สุด วิธีแก้ไข เปลี่ยนสิ่งแวดล้อม ระบบงาน สรุปแนวคิดในเรื่องการเกิดความเสี่ยง มี 2 แนวทาง ได้แก่เกิดจากคนผิดพลาดเกิดจากระบบผิดพลาด ระบบบริหารความเสี่ยง

  33. Risk profile

  34. Risk profile มี 2 ระดับ 1.ระดับหน่วยงาน 2.ระดับโรงพยาบาล

  35. การจัดทำ risk profile เกิดจากทีมงานมีการพูดคุย สถิติที่ผ่านมา หรือคาดการณ์อนาคตว่า เราจะเผชิญกับอุบัติการณ์ความเสี่ยง ปัญหา ข้อติดขัดในการทำงานในประเด็นใดบ้าง และมีการวิเคราะห์หาสาเหตุและวางแนวทางแก้ไข ป้องกัน หลังจากนั้นควรมีการสื่อสาร ให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ

  36. ประโยชน์ของการจัดทำ risk profile คือป้องกันการเกิดซ้ำ โดยเฉพาะ risk ที่มีระดับความรุนแรงสูง

  37. II – 1.2ระบบบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ (Risk, Safety, and Quality Management System) Overall Req. มีระบบบริหารความเสี่ยงความปลอดภัยและคุณภาพของโรงพยาบาลที่มีประสิทธิผลและประสานสอดคล้องกันรวมทั้งการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยในลักษณะบูรณาการ. Multiple Req. ก. ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัย 1 ประสาน โปรแกรมความเสี่ยง ระบบสารสนเทศ 6 ประเมิน ประสิทธิผล ปรับปรุง แก้ปัญหา 3 5 4 ค้นหาและจัดลำดับความสำคัญของความเสี่ยง กำหนดมาตรการป้องกัน, สื่อสาร, สร้างความตระหนัก ระบบรายงานอุบัติการณ์ รายงาน วิเคราะห์ ใช้ประโยชน์ วิเคราะห์สาเหตุ 2 1 พัฒนาคุณภาพการดูแล สำหรับกลุ่มเป้าหมาย ทบทวนการดูแลผู้ป่วย กำหนดกลุ่ม/วัตถุประสงค์ กำหนด KPI ใช้วิธีการที่หลากหลาย 2 ข. คุณภาพการดูแลผู้ป่วย 3 4

  38. กิจกรรมที่ 1 • การค้นหาความเสี่ยงจากกระบวนการ/ระบบการทำงาน

  39. การค้นหาความเสี่ยงจากกระบวนการ/ระบบการทำงานการค้นหาความเสี่ยงจากกระบวนการ/ระบบการทำงาน 1. สร้างกระบวนการไหลที่เป็นกระบวนการที่ดีที่สุด • สร้างแผนภูมิการไหลเพื่อแสดงแนวคิดของกระบวนการที่สอดคล้องกับขั้นตอนการปฏิบัติงาน • วิเคราะห์หน้าที่ของกระบวนการ

  40. 2. วิเคราะห์กระบวนการปฏิบัติในปัจจุบัน • ใช้กระบวนการวิเคราะห์ว่าปัจจุบันทำได้ดีหรือไม่ (ยกเลิก,รวมกัน,จัดลำดับใหม่ ) • ประเมินกระบวนการปัจจุบันว่าทำให้ผลของการส่งมอบแต่ละขั้นตอนย่อยเกิดอุปสรรคต่อการทำงาน หรือไม่อย่างไร

  41. A B C การรับผู้ป่วยใหม่- เตรียมคน- เตรียมเอกสาร- ……………... ……………………………………………………… ……………………………………………………… A B ผู้เกี่ยวข้อง 1…………… 1………….. 1………….. 2………….. 2………….. 2………….. เป้าหมาย 1. ครบถ้วน 1………….. 1………….. 2………….. 2………….. 2. ถูกต้อง ขั้นตอนที่ 3 เขียนกระบวนการที่ต้องการวิเคราะห์และจุดเชื่อมต่อลงในตาราง

  42. 4. วิเคราะห์หา failure mode • วิเคราะห์หากระบวนการที่ควรทำแต่ยังไม่มีการกระทำ • กระบวนการที่ทำไม่ดีพออาจเกิดผลลัพธ์ไม่สอดคล้องกับเป้าหมาย • นำมาวิเคราะห์โดยการเลือกให้เป็น failure mode ซึ่งเป็นข้อบกพร่องที่มีผลต่อการทำงาน

  43. แจกอาหารผิดคน ตัวอย่าง : การบริการอาหารเฉพาะโรค 3.การเตรียม/กระจาย 1. การวินิจฉัย 4. การประเมิน / ให้คำแนะนำ 2. การรับคำสั่ง 1.1 พยาบาลแจ้ง ประเภทผู้ป่วยที่รับ เข้านอนในหอผู้ป่วย 1.2 แพทย์ตรวจวินิจฉัย และสั่งอาหาร เฉพาะโรค 1.3 พยาบาลรับคำสั่ง รวบรวมและจำแนก ลงประวัติแจ้งหน่วย โภชนาการ 2.1 โภชนาการรับคำ สั่งจากหอผู้ป่วย 2.2 รวบรวมและ จำแนกประเภท 2.3 เตรียมการผลิต 2.4 เขียนคำสั่งและ มอบงานผู้รับผิดชอบ เฉพาะ 3.1 จัดเตรียมวัตถุดิบ 3.2 ประกอบอาหาร ตามเอกสารที่กำหนด 3.3 จัดแบ่งและตรวจ สอบความถูกต้องตาม รายการ 3.4 กระจายไปหอ ผู้ป่วย 4.1 พยาบาล ตรวจสอบความ ถูกต้อง 4.2 แจกอาหารและ ติดตามอาการ 4.3 ประสานแพทย์ หากจำเป็นต้อง เปลี่ยนแปลง 4.4 ให้คำแนะนำ ผู้ป่วยเรื่องการเตรียม เมื่อกลับบ้าน จัดอาหารผิดพลาด รับคำสั่งผิดพลาด เขียนคำสั่งอาหารผิด

  44. การป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุการป้องกันพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ ประเมินผล ประเมินอาการ ตรวจร่างกาย ประเมินอาการ ประเมินระบบยา ตรวจเยี่ยมประเมิน ความต้องการ บันทึก ดูแลช่วยเหลือ เยี่ยมประเมิน ติดหัวใจแดง ยกไม้กั้นเตียง ให้ข้อมูลผู้ป่วย/ญาติ ประเมินผลลัพธ์ ตรวจเวชระเบียน ครบถ้วน /ถูกต้อง ครบถ้วน / ปลอดภัย ครบถ้วน

More Related