180 likes | 360 Views
มช .กับการก้าวย่างสู่ทศวรรษที่ 6. ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เกษม วัฒน ชัย นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เสนอในการสัมมนาระดมความคิดเห็นระหว่างกรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “ CMU for CHANGE ” 22-23 มีนาคม 2557. ยุคก่อน มช. ก่อน พ.ศ.2435 การศึกษาโดยวัด – วัง – สำนักผู้รู้
E N D
มช.กับการก้าวย่างสู่ทศวรรษที่ 6 ศาสตราจารย์เกียรติคุณ เกษม วัฒนชัย นายกสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เสนอในการสัมมนาระดมความคิดเห็นระหว่างกรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ “CMU for CHANGE” 22-23 มีนาคม 2557
ยุคก่อน มช. • ก่อน พ.ศ.2435 • การศึกษาโดยวัด – วัง – สำนักผู้รู้ • การศึกษาและวิทยาการตะวันตก (ปลาย ร.3) • พ.ศ.2435 • ยกเลิกระบบการปกครองจตุสดมภ์ • จัดตั้งกระทรวง ทบวง กรม กระทรวงธรรมการ
3. การปฏิรูปการศึกษาโดยล้นเกล้า ร.5 • การศึกษาพื้นฐานของประชาชน โรงเรียนวัด โรงเรียนมิชชันนารี • โรงเรียนระดับสูงซึ่งผลิตบุคคลเฉพาะทาง (พลเรือน, ทหาร, ป่าไม้, เกษตร, แพทย์, การศึกษา ฯลฯ) 4. ยุค 5 มหาวิทยาลัย (จุฬา, ธรรมศาสตร์, แพทย์, เกษตร, ศิลปากร) ยุค ร.6 – 7 – 8
ล้นเกล้ารัชกาลที่ 5 กับการศึกษาเพื่อสร้างชาติ • ระยะแรกอาศัยผู้เชี่ยวชาญฝรั่ง • ส่งคนไปเรียนและดูงานต่างประเทศเพื่อกลับมาทำงานในกระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ “เพราะฉะนั้นเราจึงได้ตักเตือนนักเรียนเหล่านั้นว่าให้พึงนึกในใจไว้ว่า เราไม่ได้มาเรียนจะเป็นฝรั่ง เราเรียนเพื่อจะเป็นคนไทยที่มีความรู้เสมอด้วยฝรั่ง” (11 มกราคม พ.ศ.2440)
จำนวนโรงเรียนยุค ร.5 (David K.Wyatt : The Beginnings of Modern Education in Thailand,1868 – 1910 จากหนังสือ “สมเด็จพระปิยมหาราชกับการปฏิรูปการศึกษา, รศ.วุฒิชัย มูลศิลป์, ต.ค.2553
ความรู้กับคุณธรรมจะต้องเป็นเรื่องเดียวกันความรู้กับคุณธรรมจะต้องเป็นเรื่องเดียวกัน “ให้มีความวิตกไปว่า เด็กชั้นหลังจะห่างเหินจากสาศนาจนเลยกลายเปนคนไม่มีธรรมในใจมากขึ้น... คนที่ไม่มีธรรมเปนเครื่องดำเนินตาม คงจะหันไปทางทุจริตโดยมาก ถ้ารู้น้อยก็โกงไม่ใคร่คล่อง ฤาโกงไม่สนิท ถ้ารู้มากก็โกงคล่องขึ้นและโกงพิสดารมากขึ้น การที่หัดให้รู้อ่านอักขรวิธี ไม่เป็นเครื่องฝึกหัดให้คนดีแลคนชั่ว เปนแต่ได้วิธีสำหรับจะเรียนความดีความชั่วได้คล่องขึ้น (พระราชหัตเลขา ล้นเกล้าร.5 พ.ศ.2441)
คุณภาพของครู “ครูควรใช้ภาษาไทยได้ถูกต้อง เช่น ร. ล. ถ้าออกเสียงไม่ถูกต้อง เบื้องต้นให้เรียกมาอบรม ไม่ดีขึ้นให้หยุดเงินเดือน 1 เดือน ให้ปรับปรุงตนเอง ถ้ายังไม่ดี ออกเสียงไม่ถูกต้อง ให้ลาออกไปทำงานอย่างอื่น (พระราชหัตถเลขา ล้นเกล้าร.5 พ.ศ.2451)
สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระโปรดอนุญาตตั้ง โรงสกูล พระเดชพระคุณปูน เปี่ยมฟ้า เฉกรัชนิกรสูรย์ ส่องโลก สว่างแฮ ทวยราษฎรทั่วหน้า นอบเกล้าสรรเสริญ (นายอ่อนแต่งถวาย ร.5 พ.ศ.2436)
ยุคพัฒนา (สังคมและ) เศรษฐกิจแห่งชาติ • พ.ศ.2504 – 2509 : แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 • มติ ครม. สร้างมหาวิทยาลัยในภูมิภาค 2507 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 2508 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2509 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ยุค 5 ทศวรรษ มช. ปณิธานแรก • เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาภาคเหนือ • เป็นมหาวิทยาลัยลัยสมบูรณ์แบบ (comprehensive) • การบริหาร (หน่วยงาน) และการจัดการศึกษาใช้หลักสหวิทยาการ (interdisciplinary)
จำนวนหน่วยงาน *มีองค์กรในกำกับเกิดขึ้นรวม 19 หน่วยงาน
จำนวนหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ในทศวรรษที่ 1-5 (พ.ศ.2507-2557)
จำนวนบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ณ ปลายทศวรรษ)
ทศวรรษที่หกและสืบๆ ไป ปณิธาน • เป็นมหาวิทยาลัยที่ตอบสนองการพัฒนาประเทศและโดยเฉพาะภาคเหนือ “รวมพลังเพื่อแผ่นดิน” • เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความเป็นเลิศในหลายๆ ด้าน “มหาวิทยาลัยระดับโลก” • โลกเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ไทยต้องปรับตัวอย่างรุนแรง “มช.ต้องปรับทั้งโครงสร้าง ระบบงาน และระบบวิชาการ เพื่อพันธกิจรับใช้แผ่นดิน”