290 likes | 895 Views
บทที่ 5 การคลังสาธารณะ การเงิน นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง. SSC281 : Economics 1/2552. การคลังสาธารณะ. เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล งบประมาณแผ่นดิน แผนเกี่ยวกับการใช้จ่าย และแผนเกี่ยวกับการจัดหารายรับให้เพียงพอในรอบระยะเวลาหนึ่ง
E N D
บทที่ 5 การคลังสาธารณะ การเงิน นโยบายการเงิน นโยบายการคลัง SSC281 : Economics 1/2552 ศศิธร สุวรรณเทพ
การคลังสาธารณะ เศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายรับและรายจ่ายของรัฐบาล • งบประมาณแผ่นดิน แผนเกี่ยวกับการใช้จ่าย และแผนเกี่ยวกับการจัดหารายรับให้เพียงพอในรอบระยะเวลาหนึ่ง • ปีงบประมาณจะเริ่มต้นตั้งแต่ 1 ตุลาคม - 30 กันยายน เช่น งบประมาณปี 2552 จะเริ่มต้นตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2551 - 30 กันยายน 2552 • หน่วยงานที่รับผิดชอบในการจัดทำงบประมาณแผ่นดินคือ สำนักงานงบประมาณ : ศศิธร สุวรรณเทพ
ภาพรวมของการคลังสาธารณะภาพรวมของการคลังสาธารณะ ศศิธร สุวรรณเทพ
ประเภทของงบประมาณแผ่นดินประเภทของงบประมาณแผ่นดิน • งบประมาณสมดุล ( Balanced Budget ) : งบประมาณที่รายได้ของรัฐบาล เท่ากับ รายจ่ายของรัฐบาล • งบประมาณไม่สมดุล ( Unbalanced Budget ) : -งบประมาณเกินดุล รายได้ > รายจ่าย -งบประมาณขาดดุล รายได้ < รายจ่าย ศศิธร สุวรรณเทพ
ประมาณการรายจ่าย จำแนกรายจ่ายเป็นประเภทต่างๆ เช่น • จำแนกตามลักษณะงาน เป็นการจำแนกเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่งานที่รัฐบาลจะดำเนินการ เช่น การบริหาร การป้องกันประเทศ เป็นต้น • จำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ (เงินเดือน ดอกเบี้ย เป็นต้น) • จำแนกตามส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ • จำแนกตามแผนงาน 12 ด้าน เช่น ด้านเกษตร ด้านอุตสาหกรรม ด้านคมนาคมการวิทยาศาสตร์ การศึกษา การสาธารณสุข เป็นต้น) ศศิธร สุวรรณเทพ
รายจ่ายของรัฐบาล ศศิธร สุวรรณเทพ
หนี้ของรัฐบาล ศศิธร สุวรรณเทพ
ประมาณการรายรับ • รายรับของรัฐบาลแบ่งเป็นประเภทต่างๆ ได้ 3 ประเภทคือ รายได้ , เงินกู้ และเงินคงคลัง • รายได้ของรัฐบาล • รายได้จากภาษีอากร รายได้จากการขายสินค้า • รายได้จากรัฐพาณิชย์ รายได้อื่นๆ ค่าธรรมเนียม ค่าปรับ • เงินกู้ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ (หนี้สาธารณะ) • เงินคงคลัง : เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายในปีก่อนๆซึ่งรัฐบาลสะสมไว้ ศศิธร สุวรรณเทพ
รายได้ของรัฐบาล ศศิธร สุวรรณเทพ
ฐานะการคลังของรัฐบาลปี 2545-2549 ปรับปรุงล่าสุด : 29 ก.พ. 255117:06 (หน่วย : ล้านบาท) ศศิธร สุวรรณเทพ
ฐานะการคลังของรัฐบาลปี มกราคม –กรกฎาคม 2551 ศศิธร สุวรรณเทพ
ประเภทของภาษีอากร • ภาษีทางตรง ( Direct Tax ) ภาษีที่ผู้เสียภาษีจะต้องรับภาระภาษีที่เสียไว้เอง ผลักให้ผู้อี่นได้ยาก เช่น ภาษีเงินได้ ภาษีที่ดิน ภาษีมรดก • ภาษีทางอ้อม ( Indirect Tax )ภาษีที่ผู้เสียสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้อื่นได้โดยง่าย เช่น ภาษีสินค้าเข้า ภาษีสินค้าออก ภาษีมูลค่าเพิ่ม ศศิธร สุวรรณเทพ
อัตราภาษีแบ่งได้ 3 ประเภท • อัตราภาษีคงที่ ( flat rate ): อัตราภาษีที่จัดเก็บในอัตราที่เท่ากัน • โดยไม่คำนึงถึงขนาดของฐานภาษี • อัตราก้าวหน้า ( progressive rate ) : อัตราภาษีที่เก็บหลายอัตรา • โดยอัตราภาษีจะสูงขึ้นเมื่อฐานภาษีสูงขึ้น • อัตราถ้อยหลัง ( regressive rate ) : อัตราภาษีที่จัดเก็บหลายอัตรา • โดยอัตราภาษีจะต่ำลงเมื่อฐานสูงขึ้น ศศิธร สุวรรณเทพ
วัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากรวัตถุประสงค์ของการเก็บภาษีอากร • เพื่อจัดหารายได้ • เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรของประเทศ • เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ • เพื่อเร่งรัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ • หลักในการจัดเก็บภาษีอากร • หลักความยุติธรรม • หลักความมีประสิทธิภาพ • หลักความแน่นอน • หลักประหยัด ศศิธร สุวรรณเทพ
นโยบายการคลัง • นโยบายของรัฐบาลที่เกี่ยวข้องกับการจัดหารายได้ ซึ่งได้แก่ การจัดเก็บภาษีอากร และนโยบายที่เกี่ยวกับการใช้จ่าย การก่อหนี้ และการบริหารหนี้สาธารณะ • รัฐบาลสามารถใช้นโยบายการคลังเพื่อให้มีผลกระทบต่ออุปสงค์รวม (AD) ระดับรายได้ประชาชาติ และระดับการจ้างงาน เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจภายในและภายนอกประเทศ ศศิธร สุวรรณเทพ
นโยบายการคลัง แบบขยายตัว แบบหดตัว เครื่องมือของนโยบายการคลัง แบบตั้งใจ แบบอัตโนมัติ ด้านรายได้ ภาษีอัตราก้าวหน้า ด้านรายจ่าย เงินช่วยเหลือผู้ว่างงาน ศศิธร สุวรรณเทพ
นโยบายการคลังแบบขยายตัวนโยบายการคลังแบบขยายตัว (Expansionary fiscal policy) • ใช้ในกรณีเศรษฐกิจตกต่ำ • เครื่องมือ : เพิ่มรายจ่ายและลดอัตราภาษี • งบประมาณรายได้ < งบประมาณรายจ่าย • การใช้งบประมาณขาดดุล ศศิธร สุวรรณเทพ
นโยบายการคลังแบบหดตัวนโยบายการคลังแบบหดตัว (Contractionary fiscal policy) • ใช้ในกรณีเศรษฐกิจมีการขยายตัวมากเกินไป • เครื่องมือ : ลดรายจ่ายและ เพิ่มอัตราภาษี • งบประมาณรายได้ > งบประมาณรายจ่าย • การใช้งบประมาณเกินดุล ศศิธร สุวรรณเทพ
การเงิน ศศิธร สุวรรณเทพ
ความหมายของเงิน • เงินเป็นสิ่งที่ยอมรับกันทั่วไปว่าเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนและถือว่าเป็นทรัพย์สินที่มีสภาพคล่องสูงสุด • หน้าที่ของเงิน • เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน • เป็นมาตรฐานในการวัดค่า • เป็นเครื่องสะสมค่า • เป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ ศศิธร สุวรรณเทพ
ปริมาณเงิน หรือ อุปทานของเงิน • เงินที่หมุนเวียนอยู่ในมือของประชาชน ในขณะใดขณะหนึ่ง ประกอบ ด้วยสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูงสุดคือ ธนบัตร ( paper currency ) หน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิต คือ ธนาคารแห่งประเทศไทย เหรียญกษาปณ์ ( coins )หน่วยงานที่รับผิดชอบในการผลิต คือ กรมธน รักษ์ กระทรวงการคลัง เงินฝากเผื่อเรียก ( demand deposit) หน่วยงานที่รับผิดชอบในการดูแลเงินฝากเผื่อเรียก คือ ธนาคารพาณิชย์ ศศิธร สุวรรณเทพ
ปริมาณเงิน (Money Supply: Ms) • ปริมาณเงินตามความหมายแบบแคบ (M1) ประกอบด้วย ธนบัตร + เหรียญษาปน์ + เงินฝากเผื่อเรียก • ปริมาณเงินตามความหมายแบบกว้าง (M2) ประกอบด้วย ปริมาณแบบแคบ + เงินฝากออมทรัพย์ + เงินฝากประจำ ศศิธร สุวรรณเทพ
องค์ประกอบของปริมาณเงินตามความหมายแบบแคบ (M1) ศศิธร สุวรรณเทพ
ทฤษฎีของเงินตามทรรศนะของเคนส์ทฤษฎีของเงินตามทรรศนะของเคนส์ เงินทำหน้าที่อื่นด้วยนอกเหนือจากการแลกเปลี่ยน เคนส์กล่าวว่าบุคคลถือเงินด้วยเหตุผล 3 ประการคือ • ถือเงินเพื่อการใช้จ่ายประจำวัน • ถือเงินเพื่อสำรองใช้จ่ายเมื่อยามฉุกเฉิน • ถือเงินเพื่อเก็งกำไร ศศิธร สุวรรณเทพ
ความสัมพันธ์ของการถือเงินกับรายได้และดอกเบี้ยความสัมพันธ์ของการถือเงินกับรายได้และดอกเบี้ย • การถือเงินเพื่อการใช้จ่ายประจำวัน และถือเงินเพื่อสำรองใช้จ่ายยามฉุกเฉิน จะมีความสัมพันธ์กับรายได้ในทิศทางเดียวกัน • การถือเงินเพื่อเก็งกำไร จะมีความสัมพันธ์กับอัตราดอกเบี้ยในทิศทางตรงกันข้าม • อุปสงค์ต่อการถือเงินจึงมีความสัมพันธ์กับรายได้และอัตราดอกเบี้ย • อุปสงค์ของเงินและอุปทานของเงินจึงเป็นตัวกำหนดอัตราดอกเบี้ยในระบบเศรษฐกิจ ศศิธร สุวรรณเทพ
การควบคุมปริมาณเงินหรือนโยบายการเงินการควบคุมปริมาณเงินหรือนโยบายการเงิน • หน่วยงานที่รับผิดชอบในการใช้มาตรการต่างทางการเงินคือธนาคารแห่งประเทศไทย โดยดำเนินการดังนี้ • การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล ถ้าธนาคารต้องการเพิ่มปริมาณเงิน จะต้องซื้อหลักทรัพย์คืนจากประชาชน • การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย ถ้าธนาคารต้องการเพิ่มปริมาณเงิน จะลดอัตราเงินสดสำรองตามกฎหมาย • การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วแลกเงิน ศศิธร สุวรรณเทพ
การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วแลกเงินการเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วแลกเงิน • อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount rate): อัตราที่ธนาคารแห่งประเทศไทยคิดกับ ธนาคารพาณิชย์ เมื่อธนาคารพาณิชย์นำตั๋วสัญญาใช้เงินมาขายลดที่ธนาคาร • อัตราหักลด (Discount Rate): อัตราที่ธนาคารพาณิชย์คิดกับลูกค้าที่นำตั๋วสัญญาใช้เงินมาขายให้ธนาคารพาณิชย์ ดังนั้น หากธนาคารแห่งประเทศไทยต้องการเพิ่มปริมาณเงิน สามารถทำได้โดยให้ธนาคารพาณิชย์ขยายสินเชื่อ จะทำโดยการลดอัตรารับช่วงซื้อลดตั๋วแลกเงิน ศศิธร สุวรรณเทพ