590 likes | 2.29k Views
สารประกอบอินทรีย์ ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ. กรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic acid ). กรดอินทรีย์ หรือกรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic axid) สูตรทั่วไป R – COOH หมู่ฟังก์ชันคือ – COOH เรียกว่า หมู่คาร์บอกซิล (carboxyl group) . การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก.
E N D
สารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบสารประกอบอินทรีย์ที่มีธาตุออกซิเจนเป็นองค์ประกอบ
กรดคาร์บอกซิลิก(Carboxylic acid) • กรดอินทรีย์ หรือกรดคาร์บอกซิลิก (Carboxylic axid) • สูตรทั่วไป R – COOH • หมู่ฟังก์ชันคือ – COOH เรียกว่า หมู่คาร์บอกซิล(carboxyl group)
การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกการเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก • เรียกชื่อเช่นเดียวกันกับการเรียกชื่อสารประกอบแอลเคน แต่ให้เปลี่ยนอักษรตัวท้ายจาก e เป็น oic และให้นับ C ในหมู่ – COOH เป็นตำแหน่งที่1 เสมอ
การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกการเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก
การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกการเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก
การเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิกการเรียกชื่อกรดคาร์บอกซิลิก 3-(p-chlorophenyl)pentanoic acid
สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิกสมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
จุดเดือดของกรดคาร์บอกซิลิกและแอลกอฮอล์จุดเดือดของกรดคาร์บอกซิลิกและแอลกอฮอล์ ข้อมูลจาก : เคมีอินทรีย์เบื้องต้น, รศ.ดร.พิมพ์จิต ดามพวรรณ:มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิกสมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก • กรดคาร์บอกซิลิกโซ่ตรงมีจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลที่เพิ่มขึ้น • กรดคาร์บอกซิลิกโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ ความสามารถในการละลายลดลงเมื่อโมเลกุลใหญ่ขึ้น • กรดคาร์บอกซิลิกมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ส่วนที่มีขั้ว ส่วนที่ไม่มีขั้ว
สมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิกสมบัติทางกายภาพของกรดคาร์บอกซิลิก • กรดคาร์บอกซิลิกโซ่ตรงมีจุดเดือดเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลที่เพิ่มขึ้น • กรดคาร์บอกซิลิกโมเลกุลเล็กละลายน้ำได้ดีกว่าโมเลกุลใหญ่ ความสามารถในการละลายลดลงเมื่อโมเลกุลใหญ่ขึ้น • กรดคาร์บอกซิลิกมีจุดเดือดสูงกว่าแอลกอฮอล์ที่มีมวลโมเลกุลใกล้เคียงกัน ส่วนที่มีขั้ว ส่วนที่ไม่มีขั้ว
พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจน พันธะไฮโดรเจน
พันธะไฮโดรเจน http://www.mbi-berlin.de/en/research/projects/2-04/subprojects/Subproject1/acetic_acid_dimer.jpg
ปฏิกิริยาเคมีของกรดคาร์บอกซิลิกปฏิกิริยาเคมีของกรดคาร์บอกซิลิก • ปฏิกิริยาการเกิดเกลือ • ปฏิกิริยาการเกิดเอสเทอร์ • ปฏิกิริยารีดักชัน
กรดฟอร์มิก • กรดฟอร์มิกพบครั้งแรก ค.ศ.1670 โดยกลั่นจากมดแดง • กรดฟอร์มิกมาจากคำว่า formica (ภาษาละติน หมายถึง มด) สุนทร พรจำเริญ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
กรดแอซิติก • กรดแอซิติก หรือกรดน้ำส้ม • ได้จากการหมักน้ำตาล ผลไม้ หรือ เอทานอล • น้ำส้มสายชูเป็นสารละลายเจือจางของกรดแอซิติก(4-5%) • กรดแอซิติกบริสุทธิ์เรียกว่า glacial acetic acid มีจุดหลอมเหลวที่ 17C
Alpha Hydroxy Acid:AHA (พบในอ้อย) (พบในแอปเปิล) (พบในนมเปรี้ยว) กรดแอลฟาไฮดรอกซี ใช้เป็นส่วนผสมของผลิตภัณฑ์บำรุงผิว ทำให้ผิวนุ่ม ไร้ริ้วรอยช่วยปรับสภาพผิว
เอสเทอร์(Ester) • เอสเทอร์เป็นอนุพันธ์ของกรดคาร์บอกซิลิก โดยหมู่ OH ของกรดถูกแทนที่ด้วยหมู่ OR หรือ OAr • สูตรทั่วไปของเอสเทอร์
เอสเทอริฟิเคชัน(Esterification)เอสเทอริฟิเคชัน(Esterification) กรดคาร์บอกซิลิก แอลกอฮอล์ เอสเทอร์ น้ำ
การเรียกชื่อเอสเทอร์ • เรียกชื่อหมู่แอลคิล(R) หรือหมู่เอริล(Ar)ที่มาจากแอลกอฮอล์ก่อนแล้วตามด้วยชื่อของกรดคาร์บอกซิลิก โดยเปลี่ยนคำลงท้ายกรดจาก ic เป็น ate
การเรียกชื่อเอสเทอร์ 2-methylpropyl-2,4-dimethylpentanoate
จุดเดือดของเอสเทอร์และกรดคาร์บอกซิลิกจุดเดือดของเอสเทอร์และกรดคาร์บอกซิลิก ข้อมูลจาก : เคมี เล่ม๕ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปฏิกิริยาเคมีของเอสเทอร์ปฏิกิริยาเคมีของเอสเทอร์ • ปฏิกิริยาไฮโดรลิซิส(Hydrolysis) • ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน(Saponification)