1 / 21

การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย

การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย. ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 17 สิงหาคม 2553. หัวข้อนำเสนอ. พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1. ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย. 2. พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1. 3. สวทช.

jasonr
Download Presentation

การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย ดร. ทวีศักดิ์ กออนันตกูล สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 17 สิงหาคม 2553

  2. หัวข้อนำเสนอ พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย 2

  3. พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 3

  4. สวทช. • ธันวาคม 2534- จัดตั้งตาม พ.ร.บ.โดยมติ ค.ร.ม. • 2535 - สวทช. เริ่มต้นโดยการรวมศูนย์เทคโนโลยีแห่งชาติที่ได้ดำเนินการมาก่อนหน้าแล้ว 3 ศูนย์ (BIOTEC, MTEC และ NECTEC) และการต่อยอดจากโครงการ STDB (2528-2535) • 2553 -18 ปีที่ผ่านมา สวทช. สร้างความเข้มแข็งให้ ‘ห่วงโซ่คุณค่า’ • ยกระดับความสามารถการแข่งขัน และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้ SMEs • ช่วยเพิ่มคุณภาพชีวิตให้สังคมและชุมชน

  5. สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคมส่วนหนึ่งของ ’ห่วงโซ่’ คุณค่า โดย สวทช. • สวทช. ในฐานะ Solution Provider ให้กับอุตสาหกรรมไทย • I. อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 2: • - Innovation Cluster 2 แล้วเสร็จ >69% (พ.ค. 53); เป้าหมาย ~200 บริษัท • สวทช. มีกลไกร่วมมือกับ BOI ให้เอกชนบริจาคให้กองทุน STI สามารถนำไปใช้สิทธิประโยชน์จาก BOI ได้ • ภาคเอกชนลงทุนด้านวิจัยเพิ่มขึ้น • Impact ที่คาดว่าจะได้รับจาก Innovation Cluster 2 >4000 ล้านบาท/ปี • II. มุ่งเน้น วิจัยพัฒนา และถ่ายทอด ทางด้าน : • อาหาร และ เกษตร • พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม • การแพทย์ และ สาธารณสุข • ทรัพยากร ชุมชน และผู้ด้อยโอกาส • Impact ที่คาดว่าจะได้รับจาก สวทช. >20,000ล้านบาท/ปี • III. ทรัพยากรที่ต้องใช้ ~5000 ล้านบาท สำหรับปี 2554 • iTAP ยกระดับความสามารถการแข่งขัน และเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ ให้ SMEs ด้วย ว. และ ท. (>2000 บริษัท) • เครื่องรบกวน/ตัดสัญญาณโทรศัพท์มือถือ ส่งมอบ กอ.รมน. • Biodiesel พลังงานทดแทนสำหรับชุมชน • DNATEC รับรองมาตรฐานสินค้าเกษตรส่งออก ตรวจ GMO ป้องกันการกีดกันการค้า • จดสิทธิบัตรยีนข้าวหอมมะลิ • Biodegradable Plastic Compounding and Testing Services แห่งแรกในประเทศไทย • พลาสติกคลุมโรงเรือนเพาะชำ • บรรจุภัณฑ์สำหรับผลิตผลสดมูลค่าสูง • อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 1: มี >60 บริษัท ใน Innovation Cluster 1 (เต็ม) • Internet ของประเทศไทย • ICT Master Plan ฉบับแรก • Y2K • SOLARTEC กับการใช้พลังงานแสงอาทิตย์ • TMEC สำหรับอุตสาหกรรม Hard Disk Drive • PTEC เพื่อรับรองมาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟ้า • ค่ายวิทยาศาสตร์เพื่อเด็ก • Software Park • ADTEC สำหรับรากฟันเทียม • เปิดดำเนินการ อุทยานวิทยาศาสตร์ ระยะที่ 1 (โดยมติ ครม. ก.ค. 2534) • NANOTEC • จัดตั้งโดยมติ ครม. เมื่อธันวาคม 2534 • เริ่มต้นด้วยการรวมศูนย์แห่งชาติ 3 ศูนย์ (BIOTEC, MTEC และ NECTEC) และต่อยอดจากโครงการ STDB (2528-2535) • ทำงานกับมหาวิทยาลัยพันธมิตร 10 แห่ง • เริ่มวิจัย DNA Fingerprint • เริ่มวิจัย Embryo Transfer ของโคกระบือ • ช่วยอุตสาหกรรมเรื่องทั่วไป 2535 2541 2547 2553 2559 นักวิจัย 10 คน นักวิจัย 166 คน นักวิจัย 278 คน นักวิจัย 387 คน นักวิจัย 600 คน

  6. สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคมวิจัยพัฒนาเพื่อการแข่งขันและความยั่งยืน • พลังงานและสิ่งแวดล้อม • หลังงานหมุนเวียน • การจัดการทรัพยากรและประสิทธิภาพพลังงาน • รักษ์สิ่งแวดล้อม อาหารและเกษตร ข้าว, มันสำปะหลัง, ยาง เป็น flagship Programs รวมไปถึง เมล็ดพันธุ์, พืชและสัตว์เศรษฐกิจ, บรรจุภัณฑ์, อาหาร, เครื่องจักรกลการเกษตร, Smart Farm, Smart Film • การแพทย์และสาธารณสุข • โรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ • การวิจัยการแพทย์ระดับอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมการผลิต ทรัพยากร ชุมชน และผู้ด้อยโอกาส หมู่บ้านวิทยาศาสตร์, เทคโนโลยีการหมักปุ๋ยระบบกองเติมอากาศ, โครงการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียนชนบท (SiRS), โครงการแม่ฮ่องสอน IT Valley, โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์กลุ่มชุมชนให้ได้มาตรฐาน มผช., เทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับคนพิการ • Hard Disk Drive • ยานยนต์

  7. สวทช. ’ห่วงโซ่คุณค่า’ โดย ว และ ท

  8. สวทช. เพื่อเศรษฐกิจและสังคมประโยชน์เชิงพาณิชย์และสาธารณะประโยชน์ (2549 – 2552) 103 65 55 48 48 28 27 26

  9. Mission “สวทช. มุ่งสร้างเสริมการวิจัย พัฒนา ออกแบบ และวิศวกรรม (RDDE) จนสามารถถ่ายทอดไปสู่การใช้ประโยชน์ (TT)พร้อมส่งเสริมด้านการพัฒนากำลังคน (HRD) และโครงสร้างพื้นฐาน (INFRA) ด้าน ว และท ที่จำเป็นเพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน โดยจัดให้มีระบบริหารจัดการภายในที่มีประสิทธิภาพเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานทุกส่วน” N:Nation First S:S&T Excellence A:Accountability T:Teamwork D:Deliverability Vision สวทช. เป็นพันธมิตรร่วมทางที่ดีสู่สังคมฐานความรู้ ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2+2+1 RDDE HRD Int. Mgt. INFRA TT Core Values NSTDA + integrity 9

  10. งานวิจัยและพัฒนาร่วมกันงานวิจัยและพัฒนาร่วมกัน สวทช. มหาวิทยาลัย อุตสาหกรรม Basic Research Technology Development R & d R & D r & D การวางตำแหน่งเชื่อมโยงองค์กร  bridging the gap  adapted from NRC-C slide presentation

  11. ทิศทางการบริหารงานวิจัย (2554-2559) ผลลัพธ์ต่อประเทศ ที่มองเห็นและรับรู้ได้ คลัสเตอร์วิจัยมุ่งเป้า ทรัพยากร/ ชุมชน/ ผู้ด้อย โอกาส สุขภาพ/ การแพทย์ อาหาร/เกษตร พลังงาน/ สิ่งแวดล้อม อุตสาหกรรมการผลิต Cross-cutting Programs Platform Technologies Biotechnology Materials Technology Electronics & Software Nanotechnology Process Excellence

  12. ความเชื่อมโยงงานของ สวทช. และผลกระทบต่อประเทศ ผลกระทบ (impact) National Economic and Social Development Planแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ Science and Technology Strategiesประเด็นยุทธศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ่ายทอดผลผลิตไปสู่ผลลัพธ์ (outcome) Cluster Management ผลผลิต (outputs) NSTDA SPA (Program Based) Program 1 Program 2 Clusters Strategic Sub Clusters Essential programs

  13. มิติการติดตามและประเมินผลมิติการติดตามและประเมินผล คลัสเตอร์ พันธกิจ หน่วยงาน สวทช. หน่วยงาน ศูนย์แห่งชาติ • การติดตามและประเมินผล • ผลการดำเนินงาน • การบริการจัดการ • ผลกระทบ หน่วยงาน หน่วยเครือข่าย โปรแกรม โครงการ โครงการ โครงการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  14. ผลงานวิจัยเชิงวิชาการผลงานวิจัยเชิงวิชาการ Excellence ความเข้มแข็งทางวิชาการ สร้างองค์ความรู้ใหม่ (ผลงานตีพิมพ์) นวัตกรรมใหม่ (สิทธิบัตร) ผลงานวิจัยเชิงประยุกต์ Relevance นำผลงานวิจัย ไปใช้ประโยชน์โดยตรง การตั้งโจทย์วิจัย พิจารณา อุดหนุนวิจัย การวิจัย การประเมิน ผลงาน การนำไปใช้ ประโยชน์ และถ่ายทอด เทคโนโลยี การผลิตและ จัดจำหน่าย การตลาด และการขาย เอกชน/ชุมชน สวทช. Cluster/Program Management Office (CPMO) National Centers กลไกการสนับสนุนภาคเอกชน Licensing / Investment / Loan / Grant

  15. หัวข้อนำเสนอ พัฒนาการและทิศทางการวิจัยของ สวทช. 1 ทิศทางการขับเคลื่อนนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัย 2 15

  16. กรอบเวลาของแผนต่างๆ ที่สัมพันธ์กับแผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ. 2547-2556) แผนพัฒนาฯ 10 (พ.ศ.2550-2554) (ร่าง) แผนพัฒนาฯ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติฉบับที่ 9 (พ.ศ.2545-2549) ปี พ.ศ. 42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 53 54 55 56 57 58 59 กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ (2544-2553) แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (พ.ศ.2545-2549) แผนกลยุทธ์ สวทช. (พ.ศ.2550-2554) แผนกลยุทธ์ สวทช. (พ.ศ.2555-2559) กรอบนโยบายเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศไทย (พ.ศ.2547-2554) อยู่ระหว่างจัดทำ แผนกลยุทธ์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (พ.ศ.2550-2556) แผนยุทธศาสตร์เทคโนโลยีวัสดุแห่งชาติ (พ.ศ.2550-2559) กรอบนโยบายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(พ.ศ.2547-2556)

  17. ยุทธศาสตร์ชาติ แผนกลยุทธ์ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (พ.ศ. 2547-2556) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) พ.ร.บ.วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติพ.ศ. 2551

  18. กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์กรอบนโยบายและแผนกลยุทธ์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (S&T 2013) วิสัยทัศน์: ประเทศไทยมีเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง เป็นสังคมความรู้ที่แข่งขันได้ ในสากล มีความมั่นคง และประชาชนมีชีวิตที่ดี การแข่งขันที่ยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชน สังคมเรียนรู้ คุณภาพชีวิต/สิ่งแวดล้อม National Innovation System (Clusters) Core technologies: Human Resources 1) ICT 2) Biotechnology 3) Material Technology 4) Nanotechnology KBS Enabling Environment Core Technologies • เป้าหมายโดยรวม: • สัดส่วนสถานประกอบการที่มีนวัตกรรมเพิ่มขึ้นเป็น 35% และสัดส่วนของมูลค่าเพิ่มจากสินค้าและบริการที่ใช้ความรู้ (knowledge-based industries) ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของกลุ่มประเทศสมาชิก OECD • เพิ่มความสามารถในการจัดการตนเองเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจให้แก่ท้องถิ่น • อันดับความสามารถในการแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสูงกว่าจุดกึ่งกลางของ IMD

  19. อุปสรรคของระบบวิจัยในปัจจุบันอุปสรรคของระบบวิจัยในปัจจุบัน • ความมีเอกภาพของระดับนโยบาย • การขับเคลื่อนกลไกเพื่อผลักดันนโยบายและติดตามผลการดำเนินงานตามนโยบายแห่งชาติของหน่วยงานปฏิบัติ • ระบบติดตามประเมินผลระดับชาติ • การประสานเชื่อมโยงของหน่วยงานสนับสนุนการวิจัย • การลงทุนด้านการวิจัยยังไม่เพียงพอ

  20. ความเห็นต่อร่างนโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ (2555-2559) • ควรประเมินและสรุปผลสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบายฉบับที่ผ่านมา • ควรมีบทที่ว่าด้วยวิธีการขับเคลื่อนนโยบายให้บรรลุผลสำเร็จในภาคปฏิบัติ • ควรเพิ่มความสำคัญในการผลักดันให้เกิดกลไกการนำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์จริง (ยุทธศาสตร์ที่ 5) • กลยุทธ์วิจัยในแต่ละหัวข้อยุทธศาสตร์ มีความกว้างขวางหลากหลาย ครอบคลุมทุกประเด็นวิจัย หากได้จัดลำดับความสำคัญ หรือมีเป้าหมายใหญ่ๆ ที่ชัดเจนจะทำให้การขับเคลื่อนงานวิจัยของประเทศที่ทิศทางที่ชัดขึ้น • งานวิจัยที่จะทวีความสำคัญมากขึ้นและภาครัฐควรให้การสนับสนุนอย่างต่อเนื่อง่เพื่อให้ประเทศมีเทคโนโลยีใช้เองในประเทศ ได้แก่ งานวิจัยด้านการเกษตรและทรัพยากรชีวภาพที่เป็นผลกระทบจากสภาพภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงไป รวมถึงงานวิจัยด้านสิ่งแวดล้อมและคาร์บอนเครดิต • กลุ่มเรื่องที่ควรวิจัยเร่งด่วนนั้น ควรมีกลยุทธ์ในการผลักดัน โดยจัดทำเป็นโครงการเร่งด่วนที่ท้าทาย (Grand Challenges) ของประเทศ และจัดสรรงบประมาณอย่างเพียงพอให้หน่วยงานต่างๆ ร่วมทำงานจนสำเร็จ

  21. ขอบคุณ a driving force for national science and technology capability

More Related