330 likes | 419 Views
เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ?. เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. รศ. สมพร อิศวิลานนท์. สถาบันคลังสมองของชาติ. หัวข้อการนำเสนอ.
E N D
เกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน รศ. สมพร อิศวิลานนท์ สถาบันคลังสมองของชาติ
หัวข้อการนำเสนอ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ●ความสำคัญของภาคการเกษตรของไทย ●การก้าวไปสู่นโยบายการค้าเสรีและความมุ่งหวังของประเทศไทย ● ทำอย่างไรจึงจะฉกฉวยโอกาสนโยบายจากการค้าเสรี
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ความสำคัญของภาคการเกษตรส่งออกไทย ● ประเทศไทยเป็นประเทศผู้ส่งออกสินค้าเกษตรและอาหาร ติด 1 ใน 10 ของโลก ● มีมูลค่าการส่งออกประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท ในจำนวนนี้เป็นสินค้าเกษตรเบื้องต้นประมาณร้อยละ 60 ที่เหลือเป็นสินค้าเกษตรแปรรูปและอาหาร ● การเกษตรเกี่ยวข้องกับประชากรจำนวนมากประมาณร้อยละ 60 ของประชากรทั้งประเทอยู่ในภาคการเกษตร การเปิดเสรีทางการค้าหากทำให้รายได้ของเกษตรกรไทยเพิ่มขึ้น ก็จะสร้างความมั่งคั่งให้กับภาคการเกษตรไทยได้
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตรในปี 2551 ประมาณ 1.3 ล้านล้านบาท
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน สัดส่วนของมูลค่าสินค้าเกษตรและสินค้าเกษตรแปรรูปส่งออก
มูลค่าการนำเข้าสินค้าเกษตรที่สำคัญ ปี 2551 เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ที่มา:ข้อมูลจากศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีของไทยการก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีของไทย เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
การเปิดตลาด อื่นๆ กระบวนการด้านการนำเข้า-ส่งออกสินค้า WTO มาตรการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน มาตรฐานสินค้า เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การก้าวเข้าสู่นโยบายการค้าเสรีและการแข่งขันทางการค้า ●WTO ได้พัฒนามาจากข้อตกลงของ GATT ได้รับการจัดตั้งเมื่อ 1 มกราคม 2538 โดยประเทศไทยได้เป็นหนึ่งในสมาชิกองค์การการค้าโลกและได้ให้ความตกลงทางการค้าไว้กับ WTO ●ความตกลงที่สำคัญภายใต้ WTO
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน กลุ่มความตกลงทางการค้า ●กลุ่มความตกลงว่าด้วยการเปิดตลาดที่สำคัญได้แก่การเปิดตลาดสินค้าเกษตร ● กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับระเบียบกระบวนการด้านการนำเข้า-ส่งออกสินค้า ได้แก่พิธีการทางศุลกากร การตรวจสอบก่อนการส่งออก เกี่ยวกับแหล่งกำเนิดสินค้า ระเบียบว่าด้วยวิธีการออกใบอนุญาตการนำเข้า ●กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับมาตรฐานสินค้า (1)ความตกลงว่าด้วยการใช้มาตรการสุขอนามัย (SPS Measures)(2)ความตกลงว่าด้วยอุปสรรคทางด้านเทคนิคต่อการค้า ( TBT) ●กลุ่มความตกลงที่เกี่ยวกับมาตรการชั่วคราวเพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายใน (Safeguards, Anti-Dumping, Subsidies and Countervailing Measures) ●กลุ่มความตกลงอื่นๆ
เขตการค้าเสรีอาเชียน ความเป็นมา ได้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี (AFTA) ในปี 2535 เพื่อขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างสมาชิกอาเซียน สร้างความสามารถในการแข่งขัน ดึงดูดการขยายการลงทุนจากต่างประเทศ และสร้างอำนาจการต่อรอง เป้าหมายหลัก คือ ลด/เลิก ภาษีสินค้าให้หมดไป พร้อมกับยกเลิกอุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (ยกเลิกโควตาสินค้า) เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ประชาคมการค้าอาเซียน ●นโยบายการค้าเสรีอาเชียน (Association of Southeast Asia Nations: ASEAN) มีข้อตกลงลงว่าด้วย ASEAN Free Trade Area (AFTA)แรกเริ่มมี 5 ประเทศ และได้ขยายเพิ่มเป็น 10 ประเทศ นอกจากนี้มี ASEAN + 3 เป้นต้น ข้อตกลงทางการค้าดังกล่าวอยู่ในรูปของพหุภาคี ●สำหรับนโยบายการค้าเสรีในรูปทวิภาคีความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับจีน ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับออสเตรเลีย ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับนิวซีแลนด์ ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น ความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับญี่ปุ่น และยังมีความตกลงการค้าเสรีระหว่างไทยกับประเทศอื่นๆที่ยังอยู่ใน ระหว่างการเจรจาอีกหลายประเทศ
การค้าสินค้าเกษตรระหว่างไทยกับสมาชิกอาเซียนอื่น 9 ประเทศ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ที่มา : กรมศุลกากร
พันธกรณีของไทย - ต้องลดภาษีทุกรายการสินค้าเหลือ 0 % ในปี 2553 (ยกเว้น กาแฟ มันฝรั่ง ไม้ตัดดอก เนื้อมะพร้าวแห้ง เหลือ 5%) - ต้องยกเลิกโควตาทุกสินค้าให้หมดไปในปี 2553 เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน พันธกรณีของไทย ภายใต้เขตการค้าเสรี AFTA
สินค้าที่ยกเลิก โควตาแล้วมี 13 รายการ ( แต่ยังไม่มีมาตรการรองรับการเปิดตลาด) ได้แก่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กากถั่วเหลือง น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม หอมหัวใหญ่ เมล็ดพันธุ์หอมหัวใหญ่ กระเทียม มันฝรั่ง ไหมดิบ ลำไยแห้ง พริกไทย น้ำตาล และใบยาสูบ สินค้าที่อยู่ระหว่างดำเนินการออกประกาศยกเลิกโควตา และต้อง มีมาตรการรองรับการเปิดตลาด 10 รายการได้แก่ 1) ชา 2) เมล็ดกาแฟ 3) กาแฟสำเร็จรูป 4) น้ำนมดิบ/นมพร้อมดื่ม 5) นมผงขาดมันเนย 6) มะพร้าวผล 7) เนื้อมะพร้าวแห้ง 8) น้ำมันมะพร้าว 9) เมล็ดถั่วเหลือง 10) ข้าว เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
การส่งออกระหว่างปี 2546-48 เที่ยบกับ 2549-51 เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.35 หรือเพิ่มขึ้นจาก 6,555 ล้านบาท เป็น 6,971 ล้านบาท ส่วนการนำเข้าเพิ่มจาก 2,186 ล้านบาท เป็น 3,794 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 73.6 ภาพรวมการค้าพืชผักระหว่างประเทศของประเทศไทยภายหลังการมีข้อตกลง FTA
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ดุลการค้าพืชผักมีแนวโน้มแคบลงในช่วงระหว่างปีเฉลี่ย 2546-48 และ 2549-51 โดยดุลการค้าได้ลดลงจาก 4,369 ล้านบาท เป็น 3,177 ล้านบาท ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือลดลงร้อละ 27.3 ดุลการค้าพืชผักระหว่างประเทศของประเทศไทย ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
การส่งออก-นำเข้าพืชผักสดแช่เย็นของประเทศของไทย ปี 2551 • การส่งออก มูลค่าการส่งออกรวมเท่ากับ 4,035.69 ล้านบาท • โดยส่งออกภายในภูมิภาคเอเชียคิดเป็นร้อยละ 52.84 • กลุ่ม EU มีมูลค่าการส่งออกสูงที่สุด ร้อยละ 37.14 • รองลงมาได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก (ร้อยละ 28.77) • การนำเข้าไทยนำเข้าสินค้าผักสดแช่เย็นเป็นมูลค่ารวม 2,793.80 ล้านบาท • ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก โดยมีมูลค่าการนำเข้าผักสดแช่เย็นถึงร้อยละ 62.68 • รองลงมาได้แก่ กลุ่ม ASEAN มีมูลค่าการนำเข้าร้อยละ 20.34 • ตลาดนำเข้านอกภูมิภาคเอเชียที่สำคัญ คือ กลุ่ม North America (ร้อยละ 11.36) ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การค้าผลไม้ของประเทศไทย
ภาพรวมการค้าผลไม้ระหว่างประเทศของประเทศไทยภายหลังมีข้อตกลง FTA การส่งออกผลไม้ระหว่างปี 2546-48 เที่ยบกับ 2549-51 เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นร้อยละ 26.4 หรือเพิ่มขึ้นจาก 11,029 ล้านบาท เป็น 13,928 ล้านบาท ส่วนการนำเข้าเพิ่มจาก 4,697 ล้านบาท เป็น 7,827 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 67 ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ดุลการค้าผลไม้ระหว่างประเทศของประเทศไทย ดุลการค้าผลไม้มีแนวโน้มแคบลงในช่วงระหว่างปีเฉลี่ย 2546-48 และ 2549-51 โดยดุลการค้าได้ลดลงจาก 6,332 ล้านบาท เป็น 6,101 ล้านบาท ในช่วงเวลาดังกล่าวหรือลดลงร้อละ 3.65 ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
การส่งออก-นำเข้าผลไม้สดของประเทศของไทย ปี 2551 • การส่งออก ไทยมีการส่งออกผลไม้สดรวมมูลค่า 9,878.81ล้านบาท • ตลาดส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก คิดเป็นร้อยละ 58.61 • รองลงมาได้แก่ กลุ่ม ASEAN (ร้อยละ 22.87) • ตลาดส่งออกนอกภูมิภาคเอเชียที่สำคัญได้แก่ กลุ่ม North America (ร้อยละ 6.68) • การนำเข้า มูลค่าการนำเข้าผลไม้สดเท่ากับ 7,221.54 ล้านบาท • ตลาดนำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ กลุ่มเอเชียตะวันออก โดยมีมูลค่าการนำเข้าจากกลุ่มนี้ร้อยละ 66.28 • รองลงมา นำเข้าจากนอกภูมิภาคเอเชียคือกลุ่ม North America (ร้อยละ 12.80) ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
ตารางที่ 1.1 กลุ่มของพืช ชนิดของพืชเป้าหมาย ศูนย์พัฒนาฯ เป้าหมาย และจำนวนเกษตรกรตัวอย่าง การส่งออกและนำเข้าผลไม้สดของไทย ชนิดผลไม้ที่มีมูลค่าการส่งออกสูงสุด 10 อันดับ ชนิดผลไม้ที่มีมูลค่าการนำเข้าสูงสุด 10 อันดับ ที่มา: วิเคราะห์จากข้อมูลกรมศุลกากร
ประเทศไทยจะฉกฉวยประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าได้อย่างไรประเทศไทยจะฉกฉวยประโยชน์จากการเปิดเสรีทางการค้าได้อย่างไร ● การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันทั้งในด้านการผลิตและการค้า จะแข่งขันได้เมื่อ: เกษตรกรต้องปรับตัวไปสู่การผลิตสินค้ามีคุณภาพมีมาตรฐานในระบบการค้าสากล มีประสิทธิภาพในการผลิต และมีต้นทุนของสินค้าที่ต่ำ (มีเทคโนโลยีที่ประหยัดต้นทุน มีความได้เปรียบในค่าจ้าง แรงงาน มีความได้เปรียบในสภาพแวดล้อมการผลิต) ประเทศจะต้องยกระดับการลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขัน
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การปรับตัวของภาคการเกษตรไทยภายใต้กติกาการค้าเสรี
Good Agricultural Practice: GAP การผลิตสินค้าเกษตร พืชผักและผลไม้เพื่อการส่งออกมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติตามระเบียบมาตรฐานการนำเข้าและมาตรฐานด้านสุขอนามัยของแต่ละประเทศ เช่นในกรณีของสหภาพยุโรปไม่ได้ใช้ระบบ GlobalGAP ญี่ปุ่นมี JasGAP นอกเหนือจากระบบ GAP โดยทั่วไปหรือในกรณีของสหรัฐอเมริกาได้กำหนดให้มีการฉายรังสีในผลไม้ 6 ชนิดที่จะนำเข้าไปในสหรัฐฯ ทั้งนี้ในแต่ละประเทศนอกจากจะได้กำหนดหน่วยงานที่จะออกใบรับรองแล้ว ยังมีหน่วยงานที่จะคอยตรวจสอบประเมินในแหล่งผลิตสินค้านั้นๆตามมาอีกด้วย
Good Manufacturing Practice (GMP) เน้นให้ความสำคัญในด้านบรรจุภัณฑ์การขนส่ง และการรับรองในระบบการผลิตเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับผู้บริโภค(GMP) ทำผู้บริโภคเชื่อมั่นในมาตรฐานความปลอดภัย
การลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศการลงทุนวิจัยด้านการเกษตรเพื่อยกระดับความสามารถและศักยภาพในการแข่งขันของประเทศ เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน การอุดหนุนการผลิตภายในประเทศที่ไม่บิดเบือนการค้า • การอุดหนุนที่ไม่บิดเบือนทางการค้า (Green Box) งานบริการทั่วไป งานวิจัย การควบคุมโรคและแมลง ด้านอาหาร และเก็บสต๊อกอาหาร ทำได้ ไม่จำกัดจำนวน ปรับโครงสร้างด้าน การลงทุน บรรเทาความสูญเสีย จากภัยธรรมชาติ
มิติต่อไปการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนมิติต่อไปการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ●เป็นประเด็นที่ควรจะต้องเฝ้าจับตาดูและก้าวให้ทัน
การเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียนการเปิดเสรีการลงทุนของอาเซียน รมต. เศรษฐกิจ 10 ประเทศลงนามใน ความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน (ACIA) เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2552 ACIA คือ การปรับปรุงความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน + ความตกลงส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน - ครอบคลุม 5 สาขา : เกษตร ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ และอุตสาหกรรมการผลิต และครอบคลุมการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศและการลงทุนในหลักทรัพย์ ผู้ได้ประโยชน์ : นักลงทุนในอาเซียน และนักลงทุนต่างชาติที่มีกิจการอยู่ในอาเซียนและต้องการขยายการลงทุนไปในประเทศอื่นในอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
พันธกรณีของไทยภายใต้ ACIA ภายใต้ความตกลงฯ เดิม ซึ่งมีผลบังคับตั้งแต่ปี 1998ไทยผูกพันเปิดเสรีภายในปี 2010 (ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 เป็นต้นไป) ใน 3 สาขา ดังนี้ - การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ - การทำไม้จากป่าปลูก - การเพาะ ขยาย และปรับปรุงพันธุ์พืช มติ กนศ. ครั้งที่ 2/2552(3 ส.ค. 2552) เห็นชอบให้เปิดเสรีตามพันธกรณีใน 3 สาขาข้างต้น โดยให้เฉพาะนักลงทุนอาเซียนสามารถถือหุ้นได้ 100% ตั้งแต่ 1 ม.ค. 2553 เป็นต้นไป เพื่อไม่ให้ถูกฟ้องร้องและเป็นไปตามแนวทางการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เวทีอภิปรายเกษตรไทยก้าวไกลในยุคการค้าเสรี ? ในวันที่ 9 ธันวาคม 2552 ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน