250 likes | 539 Views
เขื่อน. สมาชิกในกลุ่ม. นางสาว ณัฏฐริณีย์ ทุยไทสง 483230036-1 นางสาว เบญจมาศ สาลิกา 483230062-0 นาวสาว พรรณิภา เสนนอก 483230079-3 นางสาว สมกิจ พิมาทัย 483230122-8 นางสาว สุธิดา ตองหว้าน 483230133-3. สมัยโบราณ
E N D
สมาชิกในกลุ่ม นางสาว ณัฏฐริณีย์ ทุยไทสง 483230036-1 นางสาว เบญจมาศ สาลิกา 483230062-0 นาวสาว พรรณิภา เสนนอก 483230079-3 นางสาว สมกิจ พิมาทัย 483230122-8 นางสาว สุธิดา ตองหว้าน 483230133-3
สมัยโบราณ มนุษย์ได้รับความเดือดร้อนจากสภาพฝนแล้งและน้ำท่วม จึงได้สร้างเขื่อนกั้นเก็บน้ำไว้ใช้น้ำในยามแล้ง ป้องกันน้ำท่วม และผันไปใช้ในการเพาะปลูก ตามแหล่งอารยะธรรม แรกเริ่มที่แม่น้ำสำคัญ 4 สาย คือ ไทกริส-ยูเครติสในเมโสโปเตเมีย แม่น้ำไล์ในอียิปต์ แม่น้ำเหลืองในจีน และแม่น้ำสินธุในประเทศอินเดีย ประเทศจีนนับว่าเป็นประเทศที่มีการก่อสร้างเขื่อนมากที่สุดในโลก โดยมีเขื่อนสูง 15-60 เมตรจำนวน 20,762 แห่ง ที่สูงกว่า 60 เมตรมีจำนวน 99 แห่ง และเกิน 100 เมตรขึ้นไป 13 แห่ง รองลงมาคือสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น มีถึง 5,338 และ 2,142 ประวัติศาสตร์และจุดเริ่มต้นในการสร้างเขื่อน
ประวัติการสร้างเขื่อน การสร้างเขื่อน ปัญหาภัยแล้ง ปัญหาน้ำท่วม เพื่อแก้ไขปัญหา ในการดำรงชีวิตของมนุษย์ล้วนต้องประสบกับปัญหาต่างๆมากมายไม่ว่าจะเป็นปัญหาฝนแล้ง น้ำท่วมจาปัญหาเหล่านี้จึงได้มีการสร้างเขื่อนขึ้นมา เพื่อบรรเทาหรือแก้ไขปัญหาต่างๆ ในปี พ.ศ.2446 กรมชลประทานได้ก่อสร้างเขื่อนทดน้ำเพื่อการชลประทานขึ้นเป็นแห่งแรก คือ เขื่อนพระราม 6 ในปี พ.ศ.2507 ก็ได้สร้างเขื่อนอเนกประสงค์ขนาดใหญ่ คือ เขื่อนภูมิพล หรือเขื่อนยันฮี ขึ้นเป็นแห่งแรก และในปัจจุบันก็มีโครงการสร้างเขื่อนใหญ่อีกหลายโครงการตามมา โดยที่ภายหลัง วัตถุประสงค์ของเขื่อนเป็นไปเพื่อผลิตไฟฟ้าเป็นส่วนใหญ่
ประเภทของเขื่อน รูปแบบเขื่อนชนิดมีเสาและแผงกันดิน (King Post) รูปแบบเขื่อนชนิดเสาเข็มพืด (Sheet Pile) เขื่อนแบบกำแพงกันดิน (Retaining wall)
ผู้ให้บริการ ผู้รับเหมาก่อสร้าง เจ้าของโครงการและที่ปรึกษา กระทรวงต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง องค์กรสนับสนุนโครงการเพื่อการส่งออก ยุทธศาสตร์การสร้างเขื่อน แหล่งเงินทุนเอกชน รัฐบาล นักวิชาการ องค์กรเพื่อการพัฒนาทวิภาคี และธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคี
นโยบายการสร้างเขื่อน การได้รับการยอมรับจากสาธารณะ การประเมินทางเลือกอย่างรอบด้าน
ข้อคัดค้านในการสร้างเขื่อนข้อคัดค้านในการสร้างเขื่อน เขื่อนเป็นภาระและอุปสรรคมากกว่าประโยชน์ที่จะได้รับจากการสร้างเขื่อนจึงมีข้อคัดค้านขึ้นมา . ได้ไม่คุ้มเสีย คือมีการลงทุนในการสร้างเขื่อนไปมากแต่ผลตอบแทนที่ได้รับไม่คุ้มกับต้นทุน แถมยังมีผลกระทบกับระบบนิเวทย์ เช่นในกรณีของเขื่อนปากมูล
ข้อคัดค้านในการสร้างเขื่อนในกรณีเขื่อนปากมูลข้อคัดค้านในการสร้างเขื่อนในกรณีเขื่อนปากมูล มีวัตถุประสงค์หลังเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า • ไม่เป็นไปตามวัตถุหลัก • เกิดผลเสียมากกว่าผลดี • ใช้งบประมาณในการสร้างสูง - เกิดการขาดทุน แทนที่จะได้รับผลกำไร • ส่งผลกระทบกับระบบนิเวทน์ ต้นทุนที่ใช้ในการก่อสร้างที่ตั้งไว้เกือบ 4 ร้อยล้านบาท ที่เอาเข้าจริงบานปลายไปถึง 6 ร้อยกว่าล้าน และการคำนวณกำลังผลิตไฟฟ้าที่คาดไว้ว่าจะสามารถผลิตได้ 150 เมกกะวัตต์ต่อวัน ความจริงแล้วผลิตได้เฉลี่ยเพียง 20.81 เมกะวัตต์ เกิดผลกระทบกับระบบนิเวทน์ที่เปลี่ยนแปลงไปส่งผลต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ เช่นการวางไข่ของปลา
หลายประเทศที่เกิดปัญหาขึ้นเหมือนกับเขื่อนปากมูล เช่น ในสหรัฐอเมริกา มีการรื้อถอนเขื่อนกว่า 465 เขื่อน ทั้งที่ เป็นของรัฐ เอกชน หรือเขื่อนร้าง โดยตัดสินใจทิ้งประโยชน์ที่ไม่คุ้มค่าจากการผลิตกระแสไฟฟ้า และการควบคุมน้ำท่วม เพื่อประโยชน์สูงสุดในการลดผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ สังคม และเศรษฐกิจ
ข้อพิพาทในการสร้างเขื่อนข้อพิพาทในการสร้างเขื่อน เขื่อนจีน : ผลกระทบนิเวศและสังคมลุ่มน้ำโขง ประเทศจีนกำลังเร่งฝีเท้าในการพัฒนาสร้างความเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ โดยมีแผนที่จะสร้างเขื่อนขนาดใหญ่บนแม่น้ำสายต่างๆ มากมาย เช่น แม่น้ำโขง หรือที่จีนเรียกว่า แม่น้ำลานซาง ซึ่งเป็นแม่น้ำนานาชาติที่ไหลผ่านอีกห้าประเทศทางตอนล่าง คือ พม่า ลาว ไทย กัมพูชา และเวียดนาม โดยมีแผนที่จะสร้างเขื่อนบนแม่น้ำโขงถึง 14 เขื่อน
ผลกระทบจากการสร้างเขื่อนในจีนผลกระทบจากการสร้างเขื่อนในจีน 1. การเปลี่ยนแปลงวงจรน้ำขึ้น-น้ำลงของน้ำในแม่น้ำโขงและปริมาณตะกอนในลุ่มแม่น้ำโขง การสร้างเขื่อนขนาดใหญ่กั้นแม่น้ำโขงในประเทศจีน ส่งผลกระทบอย่างมากต่อระบบนิเวศลุ่มแม่น้ำโขงตอนล่าง มีผลให้การขึ้นลงของน้ำผิดธรรมชาติ และปริมาณเฉลี่ยของน้ำเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าในฤดูแล้ง รวมทั้งธาตุอาหารที่พัดพามากับน้ำกว่าครึ่งถูกเก็บกักไว้ 2.การพังทลายชายฝั่งแม่น้ำโขง
การพัฒนาเขื่อน • การได้รับการยอมรับจากสาธารณะ • การประเมินทางเลือกรอบด้าน • พิจารณาเขื่อนที่มีอยู่แล้ว • มีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องหาโอกาสฟื้นฟูและยกระดับเขื่อนที่มีอยู่แล้วให้เกิดประโยชน์สูงสุด • การสร้างความยั่งยืนให้แก่แม่น้ำและวิถีชีวิต
การพัฒนาเขื่อนในอนาคตการพัฒนาเขื่อนในอนาคต • เขื่อนได้รับประโยชน์ที่จำเป็นอย่างมากต่อการพัฒนาการของมนุษย์ • ในการพัฒนาเขื่อนมีประโยชน์แต่ต้องแลกมาด้วยการสูญเสียทางสังคม และสิ่งแวดล้อมเกินจะได้รับ • การขาดซึ่งความเป็นธรรมในการแบ่งสรรค์ • หากเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและผู้ที่ได้รับความเสี่ยงจากทางเลือกต่างๆในเรื่องทรัพยากรน้ำและพลังงานมาเกี่ยวข้องเพื่อแก้ไขความขัดแย้ง
แนวโน้มการสร้างเขื่อนแนวโน้มการสร้างเขื่อน • การสร้างเขื่อนทั่วโลกชะลอตัวลง ปัจจุบันมีเขื่อนทั่วโลกประมาณ 45,000 โดยช่วงทามีการสสร้างเขื่อนมากที่สุดคือช่วงทศวรรษ 1970 ( พ.ศ. 2513- 2522 ) โดยเฉลี่ย ประมาณปีละ 5400 แห่งทั่วโลก และในปัจจุบันต้องมีการพิจารณาปัจจัยหลายๆอย่างอันเนื่องมาจากบางครั้งประโยชน์ของเขื่อนอาจมีน้อยกว่าผลกระทบที่ได้รับและประโยชน์ก็ต่ำกว่าเป้าหมาย ไม่ว่าจะเป็นทางชลประทาน ไฟฟ้า ฯลฯ
ความสำคัญและความผิดพลาดในการสร้างเขื่อนความสำคัญและความผิดพลาดในการสร้างเขื่อน • การผลิตกระแสไฟฟ้า • ชลประทาน • น้ำอุปโภคและบริโภค • การควบคุมน้ำท่วม • ผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ • การทับถมของตะกอน
ความเป็นธรรม และการกระจายทุนของผลประโยชน์ • ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความไม่เป็นธรรม *ประชาชนในชนบท *เกษตรกรรายย่อย ความล้มเหลวในการคำนวณต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและสังคมเปรียบเทียบกับผลประโยชน์จากเขื่อนขนาดใหญ่ทำให้ ประเด็นเรื่องประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ และผลกำไรของโครงการที่แท้จริง เป็นเรื่องที่ยังไม่มีความกระจ่างชัด
เศรษฐศาสตร์การเมืองของการสร้างเขื่อนเศรษฐศาสตร์การเมืองของการสร้างเขื่อน ธนาคารเพื่อการพัฒนาพหุภาคีและองค์กรเพื่อการพัฒนาทวิภาคี มีบทบาทเชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ ยิ่งในการส่งเสริมเทคโนโลยีการสร้างเขื่อนในการพัฒนา โครงสร้างทางเศรษฐกิจการเมืองและกรอบคิดทางวิชาการ มีสูตรสำเร็จ สำหรับการสร้างเขื่อนในแต่ละเงื่อนไข การคาดการณ์ความต้องการน้าและพลังงานที่มากเกินจริงมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจที่จะไม่เลือก ทางเลือกขนาดเล็กที่ไม่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างขนาดใหญ่ การขาดความไว้วางใจ เกิดจากความผิดเกิดจากความผิดพลาดของผู้เสนอโครงการ และองค์กรที่ให้ทุนที่ไม่ทำตามพันธะสัญญาและไม่ปฏิบัติตามข้อตกลง
ด้านสิ่งแวดล้อม ข้อดี-ข้อเสีย ของการสร้างเขื่อน ด้านผลิตไฟฟ้า ด้านเกษตรกรรม ด้านอื่นๆ
ตัวอย่างเขื่อนในประเทศไทยตัวอย่างเขื่อนในประเทศไทย เขื่อนภูมิพล เขื่อนวชิราลงกรณ์ เขื่อนศรีนครินทร์ เขื่อนสิริกิติ์ เขื่อนอุบลรัตน์