1 / 44

“วิกฤติชาติ การแก้ไข และอนาคตเศรษฐกิจไทย”

“วิกฤติชาติ การแก้ไข และอนาคตเศรษฐกิจไทย”. Presented by Group 3 MPPM 15. นายกรัฐมนตรีไทย ปีพ.ศ. 2544- จนถึงปัจจุบัน. นายสมัคร สุนทรเวช. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ. พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร. พลเอก สุร ยุทธ์ จุลานนท์. 17 ก.พ. 2544 ถึง 19 ก.ย. 2549. 1 ต.ค. 2549 ถึง

jaser
Download Presentation

“วิกฤติชาติ การแก้ไข และอนาคตเศรษฐกิจไทย”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. “วิกฤติชาติ การแก้ไข และอนาคตเศรษฐกิจไทย” Presented by Group 3 MPPM 15

  2. นายกรัฐมนตรีไทย ปีพ.ศ.2544- จนถึงปัจจุบัน นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ 17 ก.พ. 2544 ถึง 19 ก.ย. 2549 1 ต.ค. 2549 ถึง 29 ม.ค. 2551 29 ม.ค. 2551 ถึง 9 ก.ย. 2551 9 ก.ย. 2551 ถึง 2 ธ.ค. 2551 17 ธ.ค. 2551 ถึง ปัจจุบัน

  3. ปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยในประเทศปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยในประเทศ สร้างความสามัคคีของคนไทยชาติ ยุติความขัดแย้งอย่างสันติ นโยบายมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ จัดการโดย

  4. ปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยภายนอกปัญหาเศรษฐกิจจากปัจจัยภายนอก

  5. นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2544-2549 สมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร

  6. มาตรการนโยบายแก้ไขเศรษฐกิจมาตรการนโยบายแก้ไขเศรษฐกิจ

  7. ผลงานด้านความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาการฟื้นตัวและการขยายตัวทางเศรษฐกิจและความเคลื่อนไหวของดัชนีหลักทรัพย์[สมชัย จิตสุชน/ชัยสิทธิ์ อนุชิตวรวงศ์] ข้อสรุปผลการวิเคราะห์: 1. การฟื้นตัวจากภาวะวิกฤติเศรษฐกิจของไทยนั้นขึ้นกับความรุนแรงของวิกฤติเศรษฐกิจ ประเทศส่วนใหญ่ฟื้นตัวก่อนไทย ยกเว้นเพียงอินโดนีเซียซึ่งประสบปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ ในขณะที่รัฐบาลทักษิณได้ประโยชน์จากความมีเสถียรภาพก่อนหน้าการเข้ามาบริหาร 2. ไม่มีหลักฐานบ่งชี้ว่า ในภาวะปกติ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยภายใต้การบริหารของรัฐบาลทักษิณสูงกว่าอัตราปกติของประเทศ หรือสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้านที่มีระดับพัฒนาการเศรษฐกิจใกล้เคียงกับไทย 3. มีหลักฐานสนับสนุนการใช้ทฤษฎี Dual Track Economy สำหรับประเทศไทยโดยเฉพาะในช่วงที่มีทรัพยากรส่วนเกินเหลืออยู่ แต่รัฐบาลทักษิณมิได้มีส่วนในการเพิ่มอุปสงค์ภายในมากนัก การเพิ่มขึ้นของการบริโภคมาจากปัจจัยอื่นมากกว่า เช่นอัตราดอกเบี้ยที่ต่ำ 4. ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ของไทยมีผลตอบแทนแท้จริงในระยะที่รัฐบาลทักษิณบริหารค่อนข้างสูง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะดัชนีตกต่ำไปลึกมากก่อนรัฐบาลทักษิณ อย่างไรก็ตามพบว่าในระยะสองปีหลังของรัฐบาลทักษิณ อัตราผลตอบแทนของไทยติดลบและมีผลงานต่ำที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ผลรวมคือแม้รัฐบาลทักษิณจะบริหารมา 5 ปีเต็ม อัตราผลตอบแทนตลาดหลักทรัพย์ไทยก็ยังไม่สามารถลบล้างความเสียหายที่เกิดขึ้นจากวิกฤติเศรษฐกิจได้

  8. เปรียบเทียบอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจแต่ละช่วงเวลาเปรียบเทียบอัตราขยายตัวทางเศรษฐกิจแต่ละช่วงเวลา ช่วงฟื้นตัวเศรษฐกิจไทย หมายเหตุ : อัตราปกติ หมายถึงอัตราการขยายตัวช่วงปี 2523-2539 ที่ไม่รวมปีที่ขยายตัวต่ำมากไปหรือสูงมากไป

  9. ผลงานด้านความโปร่งใสในการบริหารเศรษฐกิจ: กรณีศึกษาหุ้นกลุ่มชิน [สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์] ข้อสรุปผลการวิเคราะห์: 1. รัฐบาลทักษิณมีนโยบายและมาตรการหลายอย่างที่ให้ประโยชน์อย่างเฉพาะเจาะจงต่อธุรกิจที่ใกล้ชิดกับผู้นำรัฐบาล นโยบายและมาตรการเหล่านี้เป็นสาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้หลักทรัพย์ของชิน คอร์ปอเรชั่น ซึ่งถือครองโดยกลุ่มชินวัตรและดามาพงศ์มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นโดยรวม 41,258 ล้านบาท จนสามารถขายให้แก่นักลงทุนต่างชาติได้ในราคา 73,000 ล้านบาทในปี 2549 2. แม้ในภาพรวมจากมุมมองระดับมหภาค ผลงานของตลาดหลักทรัพย์ไทยจะไม่มีความแตกต่างกับประเทศเพื่อนบ้านนัก แต่หากวิเคราะห์แยกส่วนจะพบว่ามีลักษณะที่น่าสนใจบางประการ อันอาจเป็นสิ่งบ่งชี้ถึงปัญหาความโปร่งใสในการบริหารเศรษฐกิจของรัฐบาลทักษิณได้ โดยพบว่ามีธุรกิจจำนวนหนึ่งที่ได้รับประโยชน์มากกว่าบางกลุ่ม

  10. บริษัทจดทะเบียนที่มีการเพิ่มมูลค่าหลักทรัพย์ตามราคาตลาดสูงสุด 10 แห่ง (หน่วย:ล้านบาท) ที่มา ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

  11. ผลงานด้านนโยบายประชานิยม กรณีศึกษากองทุนหมู่บ้านและจดทะเบียนคนจน [สมชัย จิตสุชน/จิราภรณ์ แผลงประพันธ์] ข้อสรุปผลการวิเคราะห์: 1.นโยบายกองทุนหมู่บ้านประสบความสำเร็จพอควรในการเข้าถึงกลุ่มผู้ที่มีศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากเงินกู้กองทุน คือเป็นเกษตรกรที่สามารถนำเงินไปลงทุนด้านการเกษตรได้ อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาในเรื่องการกู้ยืมซ้ำซ้อนและอาจไม่ทั่วถึง ตลอดจนยังมีผู้กู้จำนวนหนึ่งที่ต้องกู้ยืมเงินจากแหล่งอื่นมาใช้คืนเงินกองทุน 2. ในการประเมินผลต่อการเพิ่มรายได้และลดรายจ่ายนั้น พบว่ามีความแตกต่างกันพอสมควรระหว่างผู้กู้ที่ใช้ประโยชน์จากเงินกองทุนได้และผู้ที่ไม่ได้ประโยชน์จากเงินกองทุน ทำให้ในภาพรวมเงินกองทุนหมู่บ้านมิได้มีผลทำให้รายได้ของผู้กู้เพิ่มสูงกว่าผู้ที่มิได้กู้เงินกองทุนอย่างมีนัยสำคัญ 3. ข้อมูลการจดทะเบียนคนจนมีปัญหาในเรื่องความสมบูรณ์และแม่นยำ เพราะมีคนจนถึงกว่าร้อยละ 70 ที่มิได้จดทะเบียนและผู้จดทะเบียนร้อยละ 85 ไม่ใช่คนจน อาจทำให้เกิดปัญหาการละเลยคนจนที่แท้จริงหากรัฐบาลยึดถือฐานข้อมูลนี้โดยไม่ตรวจสอบกับแหล่งอื่น

  12. นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2549-2551 สมัยรัฐบาล พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์

  13. นโยบายเศรษฐกิจ มาตรการสำคัญ • GDP ขยายตัว ปี 50 > ปี 49 • อัตราเงินเฟ้อ ปี 50 < ปี 49

  14. วิเคราะห์การใช้นโยบายวิเคราะห์การใช้นโยบาย จุดเด่นเป็นนโยบายที่นำแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นกรอบนโยบาย และมุ่งเน้นการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจของชุมชนฐานรากร่วมกับภาคเศรษฐกิจระบบตลาดและภาคเศรษฐกิจส่วนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยให้ความสำคัญกับหลักคุณธรรม จริยธรรมในการดำเนินการทางเศรษฐกิจในระบบตลาดเสรี แต่ผลงานยังไม่ปรากฏผลตามกรอบนโยบายอย่างเป็นรูปธรรม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักคุณธรรมกำกับการพัฒนา เศรษฐกิจในระบบตลาดเสรี

  15. นโยบายไม่ได้พูดถึงเรื่องปัญหาการจัดการดูแลทรัพยากรธรรมชาติไม่ว่าจะเป็น ป่า ที่ดิน น้ำ ทรัพยากรชายฝั่ง ฯลฯ ที่ถือได้ว่าเป็นทุนทางเศรษฐกิจที่สำคัญ • สนับสนุนการออมในทุกระดับและพูดถึงการดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล เพื่อให้สามารถรองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างพอเพียงและมีการลงทุนทางด้านโครงสร้างพื้นฐานที่จำเป็นเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศและเสริมภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ ในขณะที่จะเสริมสร้างวินัยทางการเงินการคลังของภาครัฐ โดยการใช้จ่ายอย่างมีเหตุผลและประหยัดเท่านั้น มิได้กล่าวถึงกลไกภาษีเลยแม้แต่น้อย • หลักเศรษฐกิจพอเพียงของรัฐบาลชุดนี้อาจเป็นแค่วาทกรรมที่ยังคงโครงสร้างชั้นภูมิทางอำนาจและความสามารถในการแสวงหากำไรหรือการขูดรีดมูลค่าส่วนเกินแบบเดิมๆอยู่ ก็อาจกล่าวได้ว่าการเปลี่ยนแปลงครั้งนี้ก็เป็นการต่อสู้ของชนชั้นนำระหว่าง 2 กลุ่มคือทุนนิยมกับศักดินา • เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแค่แนวคิดที่มีไว้ให้คนเลือกปฏิบัติ สรุปได้ว่าเป็นเพียงแค่ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน รวมทั้งมีคุณธรรมและความรู้ ซึ่งก็ไม่ต่างกันกับการที่รัฐบาลได้ประกาศในนโยบายด้านเศรษฐกิจดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ว่าเป็นแนวทางที่ทุกคนทุกวิถีชีวิตสามารถนำไปใช้ได้ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร กรรมกร ไปจนถึงเจ้าของบริษัทยักษ์ใหญ่ต่างๆเป็นแค่การเปลี่ยนแปลงคติในการดำเนินชีวิตหรือปรัชญาชีวิตของตน แต่โครงสร้างความสัมพันธ์ในระบบเศรษฐกิจยังคงมีลักษณะเดิมอยู่นั่นเอง วิเคราะห์นโยบายการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

  16. นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551 สมัยรัฐบาล นายสมัคร สุนทรเวช

  17. มาตรการนโยบายแก้ไขเศรษฐกิจมาตรการนโยบายแก้ไขเศรษฐกิจ

  18. วิเคราะห์การใช้นโยบายวิเคราะห์การใช้นโยบาย นโยบายของรัฐบาลนายสมัคร แสดงออกในรูปแบบมาตรการทางเศรษฐกิจ ที่ออกมาบังคับใช้ มีผลทันทีเพื่อหวังผลกระตุ้นเศรษฐกิจ โดยใช้มาตรการทางภาษีเป็นตัวนำแต่เป็นไปในลักษณะของนโยบายประชานิยม มากกว่าที่จะส่งผลดีหรือกระตุ้นเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว ส่วนนโยบายด้านอื่นๆ ยังไม่ปรากฎผลชัด เนื่องจากระยะเวลาในการบริหารงานค่อนข้างน้อย จึงยังไม่สามารถผลักดันนโยบายและมาตรการทางเศรษฐกิจอื่นๆ มาใช้ แต่รัฐบาลในชุดปัจจุบันของนายอภิสิทธิ์ ก็ยังคงนำมาตรการบางอย่างมาสานต่อ เช่น การต่ออายุ 6 มาตรการ ออกไปอีก เนื่องจากเป็นนโยบายประชานิยม

  19. นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551 สมัยรัฐบาล นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์

  20. นโยบายเศรษฐกิจ

  21. เน้นปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเน้นปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

  22. วิเคราะห์การใช้นโยบายวิเคราะห์การใช้นโยบาย 1นโยบายเร่งด่วน ซึ่งเป็นการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจที่รัฐบาลได้ประเมินไว้ กลับไม่มีความชัดเจน ยากที่นำไปผลักดันหรือส่วนราชการนำไปปฏิบัติ ในขณะที่นโยบายที่ดำเนินการในระยะ 3 ปี กลับมีความชัดเจนมากกว่า 2เป็นผลพวงของรากฐานความคิดเดิมการบริโภคนิยม ผ่านDemand Sideของนายกฯสมัคร เช่น Mega Project SML OTOP และพักหนี้เกษตรกร 3ยังยึดหลักการหาเสียงด้วยเงินงบประมาณ ในลักษณะประชานิยม จนเกิดหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้น 4นโยบายทางด้านเศรษฐกิจเร่งด่วนที่ตั้งไว้ มีการผลักดันด้วยมติคณะรัฐมนตรีเพื่อให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปดำเนินการน้อยมาก จึงไม่มีการแก้ไขสถานการณ์ทางเศรษฐกิจให้ดีขึ้น จนเป็นภาระต่อไปยังรัฐบาลชุดถัดไป (นายอภิสิทธิ์ฯ)

  23. นโยบายเศรษฐกิจ ปี 2551-52 สมัยรัฐบาล นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ “ ความสุขของคนไทย คือเป้าหมายของรัฐบาล ”

  24. นโยบายด้านเศรษฐกิจ (เน้นที่สำคัญ) แก้ไขและบรรเทาปัญหาเศรษฐกิจ เพื่อแก้ไขและบรรเทาผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจโลก รัฐบาลชุดนี้ได้ใช้มาตรการหลายชนิดผสมผสานกัน เช่น ช่วยแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน บรรเทาการว่างงาน ช่วยเหลือผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม ในขณะเดียวกันก็มองหาหนทางเพิ่มรายได้ให้กับประชาชน และลงทุนทางสังคมในเชิงรุก

  25. นโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาคนโยบายการบริหารเศรษฐกิจมหภาค สร้างเสถียรภาพและความมั่นคงของสถาบันการเงิน รักษาวินัยการคลัง โดยปรับงบประมาณประเทศให้สอดคล้องกับเงินของแผ่นดิน นโยบายปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ

  26. โครงการช่วยเหลือค่าครองชีพประชาชนและบุคลากรภาครัฐ( เช็คช่วยชาติ 2,000 บาท ) กระตุ้นเศรษฐกิจโดยการสร้างกำลังซื้อโดยการให้ผู้ที่มีรายได้น้อยคนละ2,000 บาทครอบคลุมผู้ที่อยู่ในระบบประกันสังคม บุคลากรภาครัฐที่มีรายได้ต่ำกว่า15,000 บาทต่อเดือน

  27. โครงการส่งเสริมและสนับสนุนอุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) มาตรการด้านการเงิน รัฐปล่อยสินเชื่อและการค้ำประกันแก่ผู้ประกอบการSMEs ผ่านการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) มาตรการด้านภาษี ช่วยเหลือและสนับสนุนผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมและวิสาหกิจชุมชน 1.สนับสนุนธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยลดอัตราจำนองอสังหาริมทรัพย์ เหลือร้อยละ 0.01 ไปจนถึงสิ้นปี 2552 2.มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนธุรกิจท่องเที่ยว 3.มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการปรับปรุงโครงสร้างหนี้และโครงสร้างองค์กร ที่ผ่านการออกกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

  28. วิเคราะห์การใช้นโยบาย รัฐบาลภายใต้การนำของ ฯพณฯ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ นายกรัฐมนตรี 1.ให้ความสำคัญกับเศรษฐกิจพอเพียง 2.มุ่งเน้นการแก้ปัญหาโครงสร้างของตลาด ตลาดปัจจัยการผลิต ตลาดสินค้าและบริการ และตลาดการเงิน มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของหน่วยเศรษฐกิจระดับเล็ก กลาง และใหญ่ 3.การลงทุนเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของประเทศในระยะยาว ทั้งในด้านสาธารณูปโภคพื้นฐาน ลอจิสติกส์ การเกษตร สาธารณสุข ทรัพยากรมนุษย์ ฯลฯ โดยการลงทุนเหล่านี้จะสอดคล้องกับแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง 2553-2555

  29. สรุปความเห็นโดยรวมต่อนโยบาย ของรัฐบาลอภิสิทธิ์ 1.กดดอกเบี้ยเงินฝากในอัตราต่ำติดดินแต่ขึ้นดอกเบี้ยเงินกู้ในอัตราสูงเกินเพดานที่ผู้ประกอบการจะรับไหวเอาเปรียบ 2.แจกเงิน 2,000บาท แก่ผู้มีรายได้ต่ำกว่า 15,000บาท โดยไม่คำนึงถึงแก่ประชาชนที่ยากจน ไม่มีงานทำที่เดือดร้อนทุกข์ยากในชนบท 3.รัฐบาลต้องไม่หวังผลทางการเมือง ต้องมองให้ไกล ทำโครงการที่ก่อให้เกิดการจ้างงานจริงๆ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

  30. ผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติผลของการนำนโยบายไปปฏิบัติ 1.สร้างความเชื่อมั่นแก่ภาคเอกชนในการลงทุนและการบริโภค 2.ร่วมมือกับภาคเอกชนในการชะลอและป้องกันการเลิกจ้าง 3.สร้างรายได้และศักยภาพทางเศรษฐกิจในระดับฐานราก 4.รักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตรผ่านกลไกและเครื่องมือของรัฐและสร้างระบบประกันความเสี่ยงทางการเกษตร 5.ลดภาระค่าครองชีพของประชาชน และกำกับดูแลราคาอุปโภคบริโภคและการบริการที่มีความจำเป็นต่อการครองชีพ

  31. สรุปความเห็นโดยรวมต่อนโยบาย ของรัฐบาลอภิสิทธิ์(ต่อ) 4.ระบบเศรษฐกิจ สังคม การเมือง ที่มีการเชื่อมโยงสอดคล้องกัน 5.นโยบายของรัฐต้องดึงให้ชุมชนที่เกี่ยวข้องมามีส่วนร่วมในการเมืองประชาชนสามารถกำหนดทิศทางได้ ทุกคนมีศักดิ์ศรี และมีสิทธิ์ที่จะได้รับการดูแลในฐานะที่เป็นคนไทย 6.เศรษฐกิจต้องมีกติกาการแข่งขันที่เป็นธรรม บนพื้นฐานของความสามารถและมีการกระจายรายได้อย่างทั่วถึงและยั่งยืน 7.สร้างสังคมให้สามารถพึ่งพาตนเองได้ รัฐบาลต้องนำพาประเทศให้ก้าวพ้น ”ประชานิยม”

  32. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ปี พ.ศ.2544-2550 (GDP) GDP ณ ราคาประจำปี ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

  33. ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติปี พ.ศ.2544-2550 (GNP) GNP ณ ราคาประจำปี ที่มา สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี

  34. จำนวนผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานจำนวนผู้ประกันตนที่ขึ้นทะเบียนขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน การเปลี่ยนแปลงการใช้จ่าย ภาคครัวเรือน ปี 2550-2552

  35. ช่องว่างความยากจน ความรุนแรงปัญหาความยากจน เส้นความยากจน สัดส่วนคนจน และจำนวนคนจน ระหว่างปี พ.ศ. 2541-2550 ที่มา : ข้อมูลจากการสำรวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สำนักงานสถิติแห่งชาติ

  36. อนาคตเศรษฐกิจไทย

  37. มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทยมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย ดร. อัมมาร สยามวาลา นักวิชาการเกียรติคุณ ทีดีอาร์ไอ • เชื่อว่าประชานิยมยังอยู่คู่กับสังคมไทยไปอีกนาน • ภาระหนี้ของประเทศที่สูงมาก ตัวแปรหลักที่จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในอนาคต • ปัญหาเงินเฟ้อ ทำให้รัฐต้องใช้เงินจำนวนมากเพื่อแก้ปัญหาประชาชน นำไปสู่ ปัญหา Fiscal Crisis ดร.โอฬาร ไชยประวัติ รองนายกรัฐมนตรี • มองว่า 10 ปีข้างหน้าชนบทจะขยายตัวมากกว่าในเมือง • ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้วสูงขึ้น ทำให้รายได้เกษตรขยายตัวประมาณ 40%และจีดีพีประเทศเพิ่ม • 5-10 ปีข้างหน้า ราคาน้ำมันและอาหารจะเป็นตัวกำหนดทิศทางเศรษฐกิจไทย

  38. มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทยมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย ดร.บัณฑิต นิจถาวร รองผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย • เศรษฐกิจของประเทศสามารถก้าวไปสู่เศรษฐกิจสมัยใหม่ • หากประชาชนจำนวนมากได้รับการศึกษา มีโอกาสในการแข่งขันในตลาด • ปัญหาการกระจายรายได้ลดลง ดร.ฉลองภพ สุสังกร์กาญจน์ อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรางการคลัง • อนาคตไทยต้องมีโครงสร้างที่สามารถปรับเปลี่ยนตามกระแสโลก • มีการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจมากขึ้น เช่น การลดภาษีในอาฟต้า ปี 2015 • การรวมกลุ่มทางการค้า และการลงทุนของอาเซียน เป็น”ยุทธศาสตร์ในเชิงภูมิภาค

  39. มุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทยมุมมองของนักเศรษฐศาสตร์ชั้นนำที่มีต่ออนาคตเศรษฐกิจไทย ดร.ศุภวุฒิ สายเชื้อ กรรมการผู้จัดการฝ่ายวิจัย บล.ภัทร • ทั่วโลกวิตกจะเกิดภาวะเงินตึงตัวอย่างรุนแรงในตลาดการเงินโลก • ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ สู่ตลาดการเงินของประเทศต่างๆ • เกิดผลกระทบทางเศรษฐกิจถดถอยตามมา ดร.สมคิด จาตุศรีพิทักษ์ • ความน่าเชื่อถือของประเทศที่กำลังลดลง • ปัญหาเศรษฐกิจสหรัฐ • ปัญหาการเมืองภายในประเทศ เจ้าหน้าที่ระดับสูงไม่กล้าปฏิบัติงานจริง การประสานงานระหว่างนโยบายการเงิน และการคลัง

  40. คาดการณ์ว่า GDP จะโตถึง 4 กว่า เนื่องจากเศรษฐกิจฟื้นตัว 6 ปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

  41. บทสรุปอนาคตเศรษฐกิจไทยบทสรุปอนาคตเศรษฐกิจไทย

  42. สมาชิกกลุ่ม 3 ห้อง 2 MPPM 15 • พิชิตพล ลีฬหารัตน์ รหัสนักศึกษา 5210122108 • พิรกิตติ์ รัตนดาราโชค 5210122124 • ปรางทิพย์ ติณสูลานนท์ 5210122126 • สุภเมธินี ศีลเสน 5210122127 • นันท์ธีรา ธารณาวัฒน์5210122138 • สโรชา รัตนาวะดี 5210122142 • ปัทมาภรณ์ พิภพไชยาสิทธิ์ 5210122153 • ภัฑิรา วาดวงศรี 5210122159 • สมนึก อินทสิทธิ์ 5210122160 • ชวลิต เลขะวัฒนะ 5210122161 • อรวรรณ ก้องปฐพีชัย 5210122175

  43. สมาชิกกลุ่ม 3 ห้อง 2 MPPM 15 12.เสกสรร ตั้งตรงน้ำจิต รหัสนักศึกษา 5210122176 13.ศรันย์ดิษฐ์ เบญจพงศ์ 5210122177 14.อนุศักดิ์ จันทคราม5210122189 15.ปกาศิต แก้วสุขแท้ 5210122190 16.พรทิพย์ กล้วยไม้ ณ อยุธยา 5210122191 17.อภินันท์ สุนทรานนท์ 5210122192 18.จำรัส พัฒนเสรี 5210122205 19.บงการ ศรีวโร5210122206 20.วราภรณ์ วงษ์ศิริ5210122208 21.ศิวพงษ์ ภู่มาลา 5210122214

  44. สมาชิกกลุ่ม 3 ห้อง 2 MPPM 15 22.สาคร สวนอุดม รหัสนักศึกษา 5210122215 23.ดิเรก ภักดีจาตุรันต์ 5210122216 24.ชิตพล จิระรัตน์พิศาล 5210122217 25.ปรียนันท์ กิติพงษ์พัฒนา 5210122218 26.ไอลดา กฤตศิลป์ 5210122219 27.เจริญ รัตนบรรณสกุล 5210122220 28.วารี สังข์ศิลป์ไชย 5210122221 29.พจนีย์ วรรณรัตน์ 5210122223 The end

More Related