360 likes | 518 Views
ก้าวทันแอดมิสชั่นส์. นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล. ประธานที่ประชุมอธิการบดี แห่งประเทศไทย ( ทปอ) กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. ความเป็นมาของระบบการสอบคัดเลือกฯ. สอบปีละ 1 ครั้ง (โดย ทบวงมหาวิทยาลัย). ใช้ข้อสอบกลาง. แบ่งเป็น 2 สาย. พัฒนาการสอบคัดเลือกฯ ในสถาบันอุดมศึกษา
E N D
ก้าวทันแอดมิสชั่นส์ นพ.ภิรมย์ กมลรัตนกุล ประธานที่ประชุมอธิการบดี แห่งประเทศไทย (ทปอ) กรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ความเป็นมาของระบบการสอบคัดเลือกฯความเป็นมาของระบบการสอบคัดเลือกฯ
สอบปีละ 1 ครั้ง (โดย ทบวงมหาวิทยาลัย) ใช้ข้อสอบกลาง แบ่งเป็น 2 สาย พัฒนาการสอบคัดเลือกฯ ในสถาบันอุดมศึกษา 5 ระยะ (พ.ศ. 2504 - 2552) ระบบ Entrance ระยะที่ 1 : พ.ศ. 2504 -2525
ไทย / อังกฤษ ก, ข สังคมฯ คณิตฯ ก, ข เคมี / ชีวฯ / ฟิสิกส์ ไทย ก, ข / อังกฤษก, ข, ค สังคมฯ ก, ข คณิตฯ 2 วิทย์ฯ ชีวภาพ สายวิทย์ฯ : วิชาสามัญ 1 สายศิลป์ฯ : วิชาสามัญ 2 ระยะที่ 2 : พ.ศ. 2526 - 2542
ก่อนปี 2533 เลือกได้ 6 อันดับ 2534 - 2536 เลือกได้ 5 อันดับ 2537 - 2541 เลือกได้ 4 อันดับ ระยะที่ 2 : พ.ศ. 2526 - 2542 (ต่อ)
บริสุทธิ์ ยุติธรรม ได้รับการยอมรับ ตัดสินอนาคตด้วยการสอบเพียงครั้งเดียว ไม่สนใจการเรียนในห้องเรียน (ทิ้งบางวิชา) มุ่งกวดวิชา ผลเสียต่อการพัฒนาระบบการศึกษา ข้อดี / ข้อเสีย ของระบบ ENTRANCE ข้อดี ข้อเสีย
ระยะที่ 3 : พ.ศ. 2543 - 2548 Entrance แบบใหม่ Grade Point Average (GPA) + Percentile Rank (PR) 10% คะแนนจากการสอบวัดความรู้ 90% สอบปีละ 2 ครั้ง (ต.ค. & มี.ค.)
สามารถสอบแก้ตัว & นำคะแนนครั้งที่ดีที่สุดไปใช้ เก็บคะแนนไว้ใช้ได้ 2 ปี เพิ่มความกดดัน (ต้องการคะแนนดีทั้ง 2 ครั้ง) ยังมุ่งกวดวิชา (เพื่อ GPA และการสอบวัดความรู้) ไม่สามารถแก้ปัญหาการปฏิรูปการศึกษา ใช้คะแนนที่สะสมมา (Academic Report) ข้อดี / ข้อเสีย ของระบบ ENTRANCE แบบใหม่ ข้อดี ข้อเสีย
ช่วงชั้นที่ 1 (ป.1 - 3) ช่วงชั้นที่ 2 (ป. 4 - 6) ช่วงชั้นที่ 3 (ม. 1 - 3) ช่วงชั้นที่ 4 (ม. 4 - 6) แบ่งเป็น 4 ช่วงชั้น โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 ประถม การศึกษา ภาคบังคับ การศึกษา ขั้นพื้นฐาน มัธยม
ใช้เป็นหลักเพื่อสร้างพื้นฐานการคิด การเรียนรู้ การแก้ปัญหา (ไทย / คณิตฯ / วิทย์ฯ / สังคมฯ ศาสนาฯ) เสริมสร้างความเป็นมนุษย์ & ศักยภาพพื้นฐาน ในการคิด / การทำงาน (สุขศึกษา & พลศึกษา / ศิลปะ / การงานอาชีพ & เทคโน / ภาษาต่างประเทศ) 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ตามศักยภาพ) โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
กระทรวงฯ ประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 กำหนดเป็น 8 กลุ่มสาระ สอบโดย “ส.ก.อ.” ใช้ระบบคัดเลือกกลาง(Central University Admission System : CUAS) เลือกได้ 4 อันดับ ระยะที่ 4 : พ.ศ. 2549 - 2552
พ.ศ. 2549 : ส.ท.ศ. ให้นักเรียน ม.6 สอบ 5 กลุ่ม สาระฯ ก่อนจบ พ.ศ. 2550 : ส.ท.ศ. ให้นักเรียน ม.6 สอบ 8 กลุ่ม สาระฯ ก่อนจบ GPA ของแต่ละกลุ่มสาระมีค่าร้อยละต่างกัน (ตามสาขาฯ) O-NET & A-NET ต่างกัน (ตามสาขาฯ) CUAS (ต่อ)
ระยะที่ 5 : พ.ศ. 2553 ส่งเสริมการเรียนการสอนในระดับ ม.ตอนปลายให้เป็นไป ตามปรัชญาและวัตถุประสงค์หลักของหลักสูตรการศึกษา วัดความถนัดในการเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยมากกว่า ความสามารถในการสอบเฉพาะรายวิชา (มหาวิทยาลัยได้ ผู้เรียนที่มีความรู้ ความสามารถตรงตามคณะและสาขาวิชา ที่เรียน ลดการวิ่งสอบตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ลดความเครียดในการสอบ
ระบบรับตรงระดับอุดมศึกษา ปีการศึกษา 2553 (นักเรียนต้องยืนยันสิทธิ์ ภายใน 15 มีนาคม 2553) 1. นักเรียน ม. 5 หรือเทียบเท่า ม. 6 สอบ GAT, PAT ส่งผลการสอบ GAT, PAT ของนักเรียน ไปยังมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ตามที่นักเรียนประสงค์ 2. สทศ. สำนักงานทดสอบ ทางการศึกษา แห่งชาติ 3. มหาวิทยาลัย ทำการคัดเลือกและประกาศ รายชื่อผู้ผ่านและ คณะสาขาวิชา โดย รองศาสตราจารย์ ดร.มณฑล สงวนเสริมศรีประธานที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทยประธานคณะกรรมการกลุ่มเสวนา Admissions and Assessment Forum
Admissions กลาง นักเรียน ม. 5 หรือเทียบเท่า ม. 6 1 สกอ. / ทปอ. จะทำ clearanceเพื่อการคัดเลือกมหาวิทยาลัย คณะ / สาขาวิชา สทศ. สำนักงานทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ 3 2 ภายใน พ.ศ. 2553 สอบ GAT/PAT ส่งคะแนน GAT / PAT พร้อมเลือกสาขา/มหาวิทยาลัย ได้ 4 ลำดับ (เม.ย. 53)
องค์ประกอบและค่าร้อยละในระบบกลาง (Admission) ปีการศึกษา 2553
O-NET (Ordinary National Educational Test) น้ำหนัก 01 ภาษาไทย 5% 02 สังคมศึกษา 5% 03 ภาษาอังกฤษ 5% 04 คณิตศาสตร์ 5% 05 วิทยาศาสตร์ 5% 06 สุขศึกษาและพลศึกษา 07 ศิลปะ 08 การงานอาชีพและเทคโนโลยี รวมกัน 5% สาระวิชา รหัส
ม. 6จาก ร.ร. เตรียมอุดมที่ได้คะแนน O-NET สูงสุด 1. ภาษาไทย (1 จาก 1) 2. ภาษาอังกฤษ (1 จาก 1) 3. คณิตศาสตร์ (28 จาก 66) 4. วิทยาศาสตร์ (1 จาก 1) 5. สุขศึกษาและพลศึกษา (1 จาก 1) สังคมฯ / ศิลปะ / การงานอาชีพ & เทคโนฯ
GAT (General Aptitude Test) : ความถนัดทั่วไป วัดศักยภาพในการเรียนในมหาวิทยาลัยให้ประสบความสำเร็จ แยกเป็น 2 ส่วน 1. ความสามารถในการอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์ และแก้โจทย์ปัญหา 50% 2. ความสามารถในการสื่อสาร (ด้วยภาษาอังกฤษ) 50% คะแนนเต็ม 300 คะแนน (สอบ 3 ช.ม.) สอบทุกสาขา
ลักษณะข้อสอบ GAT (300 คะแนน / 3 ช.ม.)
PAT (Professional & Academic Aptitude Test) (ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ) แต่ละ PAT แบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 2 : วัดความถนัด ศักยภาพที่จะเรียนในวิชาชีพนั้น ๆ ให้ประสบความสำเร็จ (เน้นศักยภาพ) ตอนที่ 1 : วัดความรู้พื้นฐานในการเรียนต่อในวิชาชีพนั้น ๆ (เน้นเนื้อหา)
PAT (Professional & Academic Aptitude Test) (ความถนัดทางวิชาชีพและวิชาการ) มี 7 ประเภท คะแนนเต็ม 300 คะแนน (สอบ 3 ช.ม.)
ลักษณะข้อสอบ PAT (300 คะแนน / สอบ 3 ช.ม.)
ข้อมูลการสอบ GAT / PAT ครั้งที่ 1/2552 (7-15 มี.ค.)
เปรียบเทียบค่าสถิติของนักเรียน ม.5 และ ม.6 หมายเหตุ ค่าสถิติคำนวณเฉพาะคนที่ สทศ. มีข้อมูลพื้นฐานครบถ้วน
กำหนดสอบ GAT / PAT ครั้งที่ 2/2552 (ก.ค.) สมัคร 20 เม.ย. - 10 พ.ค. 52 เลือกสนามสอบ 20 เม.ย. - 12 พ.ค. 52 ประกาผลสอบ 15 ส.ค. 52
กำหนดสอบ GAT / PAT ครั้งที่ 3/2552 (ต.ค.) สมัคร 20 ก.ค. - 10 ส.ค. 52 เลือกสนามสอบ 20 ก.ค. - 10 ส.ค. 52 ประกาผลสอบ 10 พ.ย. 52
ผลการประชุม ทปอ ครั้งที่ 2/2552 (2 พ.ค. 2552) การสอบรับตรง ปี 2553 1. ใช้คะแนน GAT/PAT ทั้ง 3 ครั้ง (มี.ค., ก.ค., ต.ค.) ของการสอบปี 2552 ได้ 2. ไม่สามารถใช้คะแนนที่จัดสอบเดือน มี.ค. 2553 ได้ (ส่งชื่อเพื่อตัดสิทธิ์ออกจากระบบกลางไม่ทัน) 3. ส่งชื่อในระบบโควตารับตรงเพื่อตัดสิทธิ์จากระบบกลาง ภายใน 15 มี.ค. 2553
ผลการประชุม ทปอ ครั้งที่ 2/2552 (2 พ.ค. 2552) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบ 4 ประการ สัดส่วนคะแนน PAT 7 ประเภท การสอบระบบกลาง (Central Admission) การสอบปี 2553
การสอบระบบกลาง (Central Admission) (ต่อ) จะยังไม่เปลี่ยนแปลง “หลักการสำคัญ” 1. องค์ประกอบ 4 ประการ (GPAX, O-NET, GAT, PAT) 2. การจัดสอบ GAT & PAT ให้ทำปีละ 3 ครั้ง (มี.ค., ก.ค., ต.ค.) 3. อนุญาตให้ใช้คะแนนที่ดีที่สุดของวิชาที่สอบ 4. อนุญาตให้นักเรียน ม.5 ขึ้นไป (ณ วันสอบ) สมัครได้ทุกครั้ง 5. คะแนนสอบเก็บไว้ได้ 2 ปี (นับจากวันสอบ) การเปลี่ยนแปลงใน “หลักการสำคัญ” ต้องบอกล่วงหน้า 3 ปี (ช่วงชั้นที่ 4) การสอบตั้งแต่ปี 2554
การสอบระบบกลาง (Central Admission) (ต่อ) อาจมีการปรับเปลี่ยนในรายละเอียดบางประการ เช่น 1. สัดส่วนขององค์ประกอบ GPAX, O-NET, GAT, PAT 2. การเพิ่มประเภทของ PAT เช่น ความถนัดทางวิทยาศาสตร์ ความถนัดทางภาษา พิจารณาทางเลือกอื่นเพื่อให้สามารถธำรงปรัชญาของ การสอบระบบกลาง (ประสิทธิภาพ โปร่งใส ประหยัด) การสอบตั้งแต่ปี 2554 ขึ้นไป (ต่อ)
แผนทบทวนการสอบระบบกลาง (ตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป) เวลา (1) ประชุมเพื่อชี้แจงตัวแทนกลุ่ม “สภาวิชาการ” และ “สภาวิชาชีพ” การปรับเปลี่ยนในหลักการสำคัญ (ตั้งแต่ปี 2556 เป็นต้นไป) ? การปรับเปลี่ยนในรายละเอียดบางประการ (ตั้งแต่ปี 2554 เป็นต้นไป) (25 พ.ค. 52) (2) สภาวิชาการ / สภาวิชาชีพ จัดประชุมในกลุ่มของตัวเองเพื่อหาข้อสรุป (มิ.ย.) (3) สภาวิชาการ / สภาวิชาชีพ ส่งผลให้ประธาน Admission & Assessment Forum (อนุฯ ดำเนินการสอบคัดเลือก) (1 ก.ค.) (4) คณะกรรมการ Admission & Assessment Forum วิเคราะห์และสังเคราะห์ “ผล” ดังกล่าว (ก.ค.) (5) นำเสนอการประชุมทางวิชาการของ ทปอ. ที่มหาวิทยาลัยบูรพา (31ก.ค. - 1 ส.ค.) (6) คณะอนุกรรมการดำเนินการคัดเลือก สรุปผลจากการประชุมวิชาการ (ส.ค.) (7) ที่ประชุม ทปอ. และกรรมการอำนวยการคัดเลือก (22 ส.ค.) แจ้งผู้เกี่ยวข้อง
9กลุ่มสาขาฯ ตามระบบการรับเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา
บทสรุป (ในวันนี้) สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในวันนี้... ล้วนมีที่มา (และที่ไป) ทุกฝ่ายต้องใช้ความรัก ความศรัทธา ความไว้วางใจ & เป็นกำลังใจซึ่งกันและกัน !!! เรายังค้นไม่พบ “สิ่งที่ดีที่สุด” (กับบริบทปัจจุบัน) จึงจำเป็นต้อง “พัฒนา” ต่อไป การพัฒนา “ระบบการสอบคัดเลือก” ต้องพิจารณาอย่าง รอบด้าน เช่น หลักฐานเชิงประจักษ์ 4 “ป” : โปร่งใส / ประสิทธิภาพ / ประหยัด / ปรัชญาการศึกษา