1 / 29

ประชุมชี้แจงฯ การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ . ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙

ประชุมชี้แจงฯ การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ . ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙. ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ ณ โรงแรมกรี นเลค รี สอรท ์ จ.เชียงใหม่. การประเมินผล ระบบข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.). CDD. KKU. ดำเนินการ 22 มิถุนายน 2552 – 21 มีนาคม 2554.

janna-ryan
Download Presentation

ประชุมชี้แจงฯ การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ . ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ประชุมชี้แจงฯ การบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๕ณ โรงแรมกรีนเลค รีสอรท์ จ.เชียงใหม่

  2. การประเมินผล ระบบข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) CDD KKU ดำเนินการ 22 มิถุนายน 2552 – 21 มีนาคม 2554 กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของระบบข้อมูล จปฐ. 2. เพื่อศึกษาการบริหารการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. ทั้งกระบวนการ 3. เพื่อศึกษาแนวทางที่จะทำให้มีการนำข้อมูล จปฐ. ไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ อปท. 4. เพื่อศึกษาเครื่องชี้วัดความจำเป็นพื้นฐานที่จะใช้ในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) 5. เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาในการ จัดเก็บข้อมูล จปฐ. กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  4. ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา 1. โครงสร้างการบริหารการจัดเก็บ (1) ในคำสั่งแต่งตั้งผู้จัดเก็บข้อมูลระดับหมู่บ้านควรระบุผู้ทำหน้าที่สอบทานข้อมูล และลงนามรับรอง (2) คณะทำงานบริหารการจัดเก็บทุกระดับ ต้องให้ความสำคัญกับระบบ จปฐ. อย่างจริงจัง เพื่อควบคุมคุณภาพข้อมูลในพื้นที่รับผิดชอบ กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  5. (3) พัฒนาชุมชนจังหวัด ควรดูแลเรื่องความถูกต้องของข้อมูลอย่างจริงจัง (4) ในระดับตำบล อปท. ต้องเพิ่มบทบาทการวิเคราะห์ และเผยแพร่ข้อมูล จปฐ. ให้ประชาชนทราบ (5) กำหนดกระบวนการประกันคุณภาพทุกขั้นตอนของการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  6. 2. แบบสอบถามและวิธีการจัดเก็บ (1) ควรใช้แบบสอบถาม(เล่ม)จัดเก็บ ไม่ควรใช้ POCKET PC เพราะ - ผู้เก็บต้องมีความรู้ความสามารถใช้คอมฯ - ข้อจำกัดตัวเครื่อง/แบตเตอร์รี่ - ข้อจำกัดหลักฐานเชิงประจักษ์ - ส่วนใหญ่ใช้ จนท. อบต.ไม่กี่คนจัดเก็บ - ขาดหลักการมีส่วนร่วม/การให้ความรู้ ปชช. - เพิ่มภาระแก่ จนท. พช. ในการดำเนินการ - ส่งผลต่อคุณภาพข้อมูล จปฐ. โดยรวม กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  7. (2) ควรใช้แบบสอบถามปีต่อปี เพื่อลดโอกาสในการคัดลอกข้อมูลจากปีที่ผ่านมา (3) แบบสอบถามควรมีตราสัญลักษณ์ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ด้วย (4) มีการประชาสัมพันธ์ในช่วงเวลาก่อนการจัดเก็บและระหว่างการจัดเก็บให้ประชาชนในหมู่บ้านทราบ (5) มีกระบวนการสอบทานข้อมูลระดับตำบล (6) ควรจัดเก็บทุกปี เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ทันเหตุการณ์ มีความต่อเนื่อง กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  8. 3. โปรแกรมบันทึกประมวลผลข้อมูล จปฐ. (1) ต้องทดสอบให้รอบคอบก่อนใช้งาน และสามารถประมวลผลได้เร็ว (2) การติดตั้งโปรแกรมใช้งานต้องสะดวก ง่าย และไม่มีผลกระทบกับข้อมูลอื่นในเครื่อง (3) สะดวกต่อการบันทึกข้อมูล (4) เอื้อต่อการรวมข้อมูล การสำรองข้อมูล และการป้องกันข้อมูลเสียหาย (5) สืบค้นข้อมูลได้ง่ายและมีการเชื่อมโยงผู้ใช้ที่ดี กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  9. 4. การใช้ประโยชน์จาก จปฐ. (1) จัดสัมมนาปลัด อปท. ระดับตำบล เรื่องแนวทางการใช้ประโยชน์จากระบบสารสนเทศ จปฐ. เพื่อให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ และค้นหาการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) (2) สนับสนุนการใช้ข้อมูลสารสนเทศ จปฐ. ประกอบการจัดทำแผนชุมชน และโครงการพัฒนาท้องถิ่น (จัดประกวด เป็นต้น) กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  10. (3) เผยแพร่รายงานผลข้อมูล จปฐ. ผ่านสื่อต่าง ๆ และอินเตอร์เน็ต ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ (4) จัดให้มีเว็บไซต์เครือข่าย จปฐ. ระดับท้องถิ่น จังหวัด และกรมการพัฒนาชุมชน เพื่อเผยแพร่ ส่งเสริม สนับสนุน ช่วยเหลือการใช้และให้บริการข้อมูล จปฐ. (5) กำหนดวิธีการประเมินความคุ้มค่าการลงทุนระบบสารสนเทศ จปฐ. และมีการประเมินผลทุก ๒ ปี กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  11. 5. ข้อเสนอด้านตัวชี้วัด จปฐ. ปี 2555-2559 - จากการศึกษาเสนอไว้ 5 หมวด 14 ตัวชี้วัด 1. สุขภาพอนามัย 3 ตัวชี้วัด 2. ความรู้และการศึกษา 4 ตัวชี้วัด 3. ที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อม 2 ตัวชี้วัด 4. ชีวิตและครอบครัว 3 ตัวชี้วัด 5. รายได้ 2 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  12. สรุป ข้อเสนอต่างๆ จากผลการศึกษา/ ผลการประเมิน กรมการพัฒนาชุมชน ได้นำไปใช้ประโยชน์เพื่อปรับปรุงเครื่องชี้วัด และระบบข้อมูล จปฐ. ปี 2555 – 2559 ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ในหลายประเด็น กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  13. เครื่องชี้วัดและแบบสอบถามเครื่องชี้วัดและแบบสอบถาม ปี 2555 – 2559 ข้อมูล จปฐ. กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  14. การปรับปรุงเครื่องชี้วัดการปรับปรุงเครื่องชี้วัด ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน ( จปฐ.) แผนฯ 11 (พ.ศ. 2555 – 2559) กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  15. หลักการและเหตุผล ข้อมูล จปฐ. คือ ข้อมูลในระดับครัวเรือนที่แสดงถึงสภาพความจำเป็นของคนในครัวเรือนในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวิตที่ได้กำหนดมาตรฐานขั้นต่ำไว้ ปี 2554 เป็นปีสุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 และปี 2555 เป็นปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ต้องใช้เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ.ใหม่ ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 11 แผนบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถิ่น กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  16. วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนา ออกแบบเครื่องชี้วัด เกณฑ์ชี้วัด และแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. ในช่วงปี 2555-2559 ที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาฯชาติ แผนบริหารราชการแผ่นดินของรัฐบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งในส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น และครัวเรือน กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  17. องค์กรที่รับผิดชอบในการปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. คณะกรรมการอำนวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (พชช.) คณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดและแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. นิด้า: ศึกษาปรับปรุง เครื่องชี้วัดและแบบสอบถาม ข้อมูล จปฐ. แผนฯ 11 - มข. มช. มอ. มธ. : ประเมินผลระบบข้อมูล จปฐ. • ข้อเสนอของกระทรวงต่าง ๆ - ข้อเสนอของจังหวัดต่าง ๆ กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  18. โครงการปรับปรุงเครื่องชี้วัด และแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. ที่จะใช้ในช่วงแผนฯ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) 1. ศึกษาโดย สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) 2. นำเสนอต่อคณะทำงานปรับปรุงเครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. (ประธาน_ท่านรองฯ สุวรรณี คำมั่น_สภาพัฒน์) มี 5 หมวด 31 ตัวชี้วัด 3. นำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมการ พชช. (ประธาน_ปลัดกระทรวงมหาดไทย) กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  19. คณะกรรมการ พชช. มีมติเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 สรุปผลเครื่องชี้วัด ข้อมูล จปฐ. ที่จะใช้ในช่วงแผนฯ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) มี 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  20. เจ้าภาพตัวชี้วัดข้อมูล จปฐ.แผนฯ 11 มติเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2554 • กระทรวงสาธารณสุข 12 ตัวชี้วัด • กระทรวงการพัฒนาสังคมฯ 7 ตัวชี้วัด • กระทรวงมหาดไทย 7 ตัวชี้วัด • กระทรวงศึกษาธิการ 5 ตัวชี้วัด • - - - - - - - กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  21. เจ้าภาพหลักตัวชี้วัด จปฐ. ปี 2555 – 2559 • หมายเหตุ • ตัวชี้วัดที่มีเจ้าภาพหลักหน่วยเดียว มี 19 ตัวชี้วัด (1-6, 8-11, 14-15, 17-21, 25-26) • ตัวชี้วัดที่มีเจ้าภาพหลักหลายหน่วย มี 11 ตัวชี้วัด (7, 12-13, 16, 22-24, 27-30)

  22. 1.สุขภาพดี ( 7 ตัวชี้วัด) มี 5 หมวด 30 ตัวชี้วัด 5.ปลูกฝังค่านิยมไทย 2.มีบ้านอาศัย 4.รายได้ก้าวหน้า 3.ฝักใผ่การศึกษา เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. แผนฯ 11(พ.ศ. 2555 – 2559) ( 8 ตัวชี้วัด) ( 6 ตัวชี้วัด) ( 4 ตัวชี้วัด) ( 5 ตัวชี้วัด) กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  23. เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. แผนฯ 11 ปี 2555-2559 หมวดที่ 1 สุขภาพดี (คนไทยมีสุขภาพและอนามัยดี) มี 7 ตัวชี้วัด 8. คนอายุตั้งแต่ 6 ปีขึ้นไป มีการทำสมาธิอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน

  24. หมวดที่ 2 มีบ้านอาศัย (คนไทยมีบ้านอาศัยและมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม) มี 8 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  25. หมวดที่ 3 ฝักใฝ่การศึกษา (คนไทยมีการศึกษาที่เหมาะสม) มี 5 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  26. หมวดที่ 4 รายได้ก้าวหน้า (คนไทยมีงานทำและรายได้) มี 4 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  27. หมวดที่ 5 ปลูกฝังค่านิยมไทย (คนไทยประพฤติดี) มี 6 ตัวชี้วัด กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  28. เครื่องชี้วัดข้อมูล จปฐ. ปี 2555 – 2559 ไม่มีการกำหนดเป้าหมายไว้ ให้จังหวัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ และ อปท. กำหนดได้เองตามศักยภาพและงบประมาณที่มี กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

  29. สิ่งที่ต้องบอก ข้อมูล จปฐ. เป็นงานของ กรมการพัฒนาชุมชน ไม่ใช่งานของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มงานสารสนเทศฯ สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงใหม่ กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย

More Related