1 / 12

รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕.

Download Presentation

รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รูปแบบรัฐ ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

  2. องค์ประกอบทางสังคมวิทยาของรัฐศาสตราจารย์ AndreHauriouetJeanGicquelได้กล่าวว่า “ องค์ประกอบทางสังคมวิทยาของรัฐที่สำคัญและจำเป็นมี 3 ประการ คือองค์ประกอบทางด้านบุคคล ได้แก่ ประชากร หรือชาติ องค์ประกอบทางด้านเนื้อหา ได้แก่ ดินแดน องค์ประกอบทางด้านรูปแบบ ได้แก่ อำนาจทางการเมืองเฉพาะ หรืออำนาจอธิปไตย”

  3. รูปแบบของรัฐ ศาสตราจารย์ไพโรจน์ ชัยนาม ได้กล่าวถึงรูปแบบของรัฐไว้ดังนี้“ ในการศึกษาถึงรูปแบบของรัฐนั้น อาจพิจารณาได้ในสองแง่ที่ต่างกัน กล่าวคือ พิจารณาในแง่ทางการเมืองพิจารณาในแง่กฎหมาย

  4. รูปแบบของรัฐ ในที่นี้จะขออนุญาตอธิบายเฉพาะการจัดแบบกฎหมายเท่านั้น ซึ่งแบ่งเป็นรัฐเดี่ยวและรัฐรวมรัฐเดี่ยว คือ รัฐที่มีศูนย์กลางทางการเมืองและการปกครองแห่งเดียวกัน เป็นรัฐที่มีผู้ใช้อำนาจอธิปไตยทั้งภายในและภายนอกประเทศเป็นศูนย์เดียวกัน คือรัฐที่มีสภาพเป็น นิติบุคคล บุคคลทุกคนในประเทศจะอยู่ใต้บังคับบัญชาของอำนาจแห่งเดียวกันนี้ ทุกคนจะอยู่ในระบอบการปกครองเดียวกัน จะอยู่ใต้บทบัญญัติของกฎหมายอย่างเดียวกัน

  5. สำหรับรูปแบบการปกครองในรัฐเดี่ยวมี 2 ระบบที่สำคัญคือ การปกครองแบบรวมอำนาจ (Centralisation) การปกครองแบบกระจายอำนาจ (Decentralisation)

  6. รัฐรวมรัฐรวมแบบใหม่อาจจำแนกได้ 2 ประเภท คือ สมาพันธรัฐ (LaConfederationd’Etats) สหพันธรัฐ (L’Etatfederal)

  7. รูปแบบการปกครองของประเทศไทย “ รัฐ” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2521 ตามบทบัญญัติ มาตรา 1 ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ. ศ. 2540 ความว่า “ ประเทศไทยเป็นราชอาณาจักรอันหนึ่งอันเดียว จะแบ่งแยกมิได้” นั้นได้แสดงถึงลักษณะความเป็น “ รัฐเดี่ยว” ของประเทศไทย กล่าวโดยสรุป ประเทศไทยมีรูปแบบของ “ รัฐเดี่ยว” มิใช่ “ รัฐรวม” แต่ประการใด

  8. ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ฐานะและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์

  9. พระมหากษัตริย์ของไทยจึงทรงมีฐานะในทางการเมืองการปกครองของไทย ดังนี้ 1) ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศเท่านั้น มิใช่ในฐานะผู้บริหารเหมือนในสมัยราชาธิปไตยอีกต่อไป โดยจะทรงใช้อำ นาจอธิปไตยโดยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาลตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้เท่านั้น ทั้งนี้ในการใช้พระราชอำนาจดังกล่าว จะต้องมีผู้รับสนองพระบรมราชโองการหรือรับผิดแทนเสมอ

  10. 2) ทรงเป็นกลางและทรงอยู่เหนือการเมืองตลอดเวลา หมายความว่าจะไม่ทรงสนับสนุนนักการเมืองคนใด หรือพรรคการเมืองใดที่รณรงค์แข่งขันในการเลือกตั้ง เพื่อให้ได้อำ นาจการเมืองการปกครอง แต่พระองค์จะทรงมีอำ นาจในการแนะนำ ตักเตือน และให้กำ ลังใจนักการเมืองและประชาชนทั้งปวง ให้ทำหน้าที่อย่างผู้ซื่อสัตย์สุจริตเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของประเทศชาติและประชาชน

  11. 3) ทรงดำ รงอยู่ในฐานะอันเป็นที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดและกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศานู-ปถัมภกและทรงดำรงตำแหน่งจอมทัพไทยรวมทั้งทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะสถาปนาฐานันดรศักดิ์ และพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

  12. ฐานะของพระมหากษัตริย์ในสมัยปัจจุบัน 1) ทรงเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทยในการติดต่อกับประมุขของต่างประเทศโดยจะทรงแต่งตั้งเอกอัครราชทูตไปประจำ ณ ประเทศต่าง ๆ 2) ทรงเป็นเอกลักษณ์และศูนย์รวมแห่งความสามัคคีของประชาชนทั้งประเทศ

More Related