1 / 39

มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินค้าเกษตรและอาหารไทย

มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินค้าเกษตรและอาหารไทย. นายสมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ. การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 28-29 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ. องค์ประกอบการบรรยาย.

jana
Download Presentation

มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินค้าเกษตรและอาหารไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารไทยมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารไทย นายสมชาย ชาญณรงค์กุล รองผู้อำนวยการ สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 5 วันที่ 28-29 มิถุนายน 2550 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ

  2. องค์ประกอบการบรรยาย • บทนำ • ความหมายของมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย • บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ด้านการมาตรฐาน • ระบบมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารไทย • Q&A

  3. บทนำ

  4. แนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญแนวโน้มของโลกและสิ่งท้าทายที่กำลังเผชิญ ตลาดอาหารอยู่ในยุคโลกาภิวัฒน์ ความตื่นกลัวต่ออาหารที่ไม่ปลอดภัย และโรคระบาด กระแสสังคมเริ่มเน้นการบริโภคเพื่อสุขภาพ รักษาสิ่งแวดล้อม และสวัสดิภาพสัตว์ มีเทคโนโลยีใหม่ๆเกิดขึ้น สินค้าแข่งกันที่คุณภาพ ความตกลงภายใต้ WTO กำหนดให้การค้าอาหารระหว่างประเทศต้องอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์

  5. ปัญหาความปลอดภัยด้านอาหารปัญหาความปลอดภัยด้านอาหาร สามารถทำให้เกิดปัญหาต่อรัฐบาลและอุตสาหกรรม: • สูญเสียความเชื่อมั่นในอาหารที่บริโภค • สูญเสียทางเศรษฐกิจเกิดปัญหาด้านสังคม การเมือง • ปัญหาทางการค้า

  6. ตัวอย่างการปฏิบัติตามScience –Based • การนำระบบ HACCP มาใช้ • การกำหนดค่า ADI สำหรับ Food Additives • กำหนดค่า MRLสำหรับ Pesticides • ใช้การระบุฉลากเตือนผู้บริโภคเกี่ยวกับโอกาสเกิดภูมิแพ้ • กำหนดมาตรฐานสินค้าในการค้าระหว่างประเทศ เช่นด้านความปลอดภัยอาหาร

  7. ภาพรวมอัตราภาษีศุลกากรเฉลี่ยในสินค้าอุตสาหกรรมภาพรวมอัตราภาษีศุลกากรเฉลี่ยในสินค้าอุตสาหกรรม ~ 40% NTBs ~ 4% ที่มา : Ulrich Hoffman , UNCTAD secretariat

  8. NTBs Inventory Part III Technical Barriers to Trade A General B Technical regulations and standards C Testing and certification arrangements “technical barriers to trade” Part IV Sanitary and Phytosanitary Measures A General B SPS measures including chemical residue limits. disease freedom, specified product treatment, etc. C Testing, certification and other conformity arrangements ที่มา : Ulrich Hoffman , UNCTAD secretariat

  9. ทิศทางของกฎหมายและมาตรฐานทั่วโลกทิศทางของกฎหมายและมาตรฐานทั่วโลก • สร้างความเข้มแข็งให้กับระบบความปลอดภัยอาหารแบบเดิมให้สามารถรับมือกับสิ่งท้าทายในปัจจุบัน • ลดและจัดการกับความเสี่ยงต่อความปลอดภัยอาหาร • ลดโอกาสเกิดอันตรายจากอาหาร • ปรับปรุงผลลัพธ์ของกระบวนตัดสินใจความปลอดภัยอาหาร • ใช้ Science – Based Approach

  10. ตัวอย่างมาตรการด้านความปลอดภัยอาหารของประเทศคู่ค้าไทย สหรัฐอเมริกา: - การติดฉลากไขมันชนิดทรานส์ - มาตรฐานเอกชนสัตว์น้ำเพาะเลี้ยง BAP รับรองโดย ACC สหภาพยุโรป - MRLs ของไดออกซินและ PCBs ในอาหารและอาหารสัตว์ - มาตรฐานเอกชน EUrepGAP ออสเตรเลีย - การวิเคราะห์ความเสี่ยงนำเข้ากุ้ง (IRA) • ญี่ปุ่น • - MRL- Positive list ของ pesticides และยาสัตว์รวม 799 ค่า

  11. ความหมายมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยความหมายมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินค้าเกษตรและอาหาร

  12. ความหมายของมาตรฐาน ข้อกำหนด(rules) คุณลักษณะ(characteristics) หรือแนวทาง(guidelines)สำหรับผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการผลิตและวิธีการผลิตที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาจรวมถึงคำศัพท์ สัญลักษณ์ การบรรจุภัณฑ์ การใส่เครื่องหมาย และการติดฉลาก

  13. วัตถุประสงค์ของมาตรฐานวัตถุประสงค์ของมาตรฐาน • อำนวยความสะดวกต่อการค้า • ใช้เป็นเกณฑ์ และ/หรือควบคุมความหลากหลาย • ใช้ถ่ายทอดเทคโนโลยี • ทำให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการใช้ ซึ่งอาจรวม technical specification • ใช้จัดทำมาตรฐานการผลิต (ของผู้ประกอบการ) ให้เข้ากันได้ และใช้ปฏิบัติงานด้วยกัน/ระหว่างกันได้

  14. หลักการกำหนดมาตรฐาน (Principle) 1. ต้องเป็นไปตามความต้องการ/วัตถุประสงค์ของภาคการผลิต วิชาการ รวมถึงเศรษฐกิจ 2. ต้องปกป้องผลประโยชน์ และส่วนได้ส่วนเสียของผู้ผลิตและผู้บริโภค 3. ต้องมาจากการเห็นพ้องต้องกัน (Consensus) 4. ต้องมีลักษณะที่ปฏิบัติได้ และทันต่อความก้าวหน้าทางวิชาการ เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์

  15. หลักการกำหนดมาตรฐาน (Principle) 5. ต้องมั่นใจว่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางเศรษฐกิจของประเทศ 6. ต้องเป็นตัวกระตุ้นหรือเร่งรัดให้มีการพัฒนาหรือให้มีการนำไปปฏิบัติ 7. ต้องเป็นเรื่องที่สามารถแก้ไข ทบทวน/ปรับปรุง ให้ทันสมัยเสมอ

  16. มาตรฐานด้านคุณภาพ (Quality) • การกำหนดมาตรฐานด้านคุณภาพ เป็นการกำหนด คุณลักษณะเฉพาะต่างๆเช่น รูปแบบ ขนาด ฯลฯ • เกณฑ์ที่กำหนดได้มาจากการตกลงที่เห็นพ้องต้องกันของ •  ผู้ผลิต • ผู้บริโภค • นักวิชาการ • ซึ่งเป็น 3 กลุ่มหลักที่สนใจให้มีการกำหนดมาตรฐาน • และเป็นผู้นำมาตรฐานไปใช้ • ข้อกำหนดในมาตรฐานคุณภาพมักเป็นข้อกำหนดสมัครใจ

  17. มาตรฐานความปลอดภัยอาหารมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร • เกณฑ์การกำหนดมาตรฐาน • ไม่สามารถใช้การตกลงที่เห็นพ้องต้องกันของ 3 กลุ่มเท่านั้น • ต้องอยู่บนพื้นฐานของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ และการ ประเมินความเสี่ยง มาตรฐานด้านความปลอดภัย • ถือเป็นเกณฑ์ขั้นต่ำของมาตรฐาน คุณภาพ • เป็นข้อกำหนดบังคับที่มักเป็นข้อบังคับตามกฎหมาย

  18. บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์บทบาทของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ด้านการมาตรฐาน

  19. กษ. กับมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร • นโยบายความปลอดภัยอาหาร : นโยบายหลักของกระทรวง • ให้ความสำคัญทั้งความปลอดภัยคนไทยและการส่งออก • ใช้มาตรฐานเป็นเครื่องมือในการจัดการความปลอดภัยอาหาร - กำหนดมาตรฐาน - ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผู้ประกอบการนำมาตรฐานไปใช้ - ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน • การประกาศใช้เครื่องหมายรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร (Q)

  20. บทบาทของหน่วยงานใน กษ. ภายใต้นโยบายความปลอดภัยอาหาร กิจกรรม พืช ปศุสัตว์ ประมง มกอช. กำหนดมาตรฐาน ส่งเสริมการผลิตตามมาตรฐาน กรมปศุสัตว์ กรมประมง กรมส่งเสริมการเกษตร ให้การตรวจสอบรับรอง กรมวิชาการเกษตร กรมปศุสัตว์ กรมประมง มกอช. ทวนสอบระบบการรับรอง

  21. สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ • ภารกิจหลัก • กำหนดมาตรฐาน • กำกับดูแล • ออกใบอนุญาตและรับรองผู้รับรองมาตรฐาน • ประสานงานและร่วมเจรจาแก้ปัญหาด้านเทคนิคมาตรการที่มิใช่ภาษี และการกำหนดมาตรฐานระหว่างประเทศ • เป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศด้านมาตรฐาน www.acfs.go.th

  22. มาตรฐาน : เครื่องมือจัดการความปลอดภัยอาหาร โดย • กำหนดมาตรฐาน • ส่งเสริมให้เกษตรกร/ผู้ประกอบการนำมาตรฐานไปใช้ • ควบคุม ตรวจสอบ รับรองตามมาตรฐาน

  23. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ วัตถุประสงค์ของเครื่องหมาย เพื่อกำหนดสัญลักษณ์ การรับรองให้เป็นเครื่องหมายกลาง เป็นเอกลักษณ์ เกิดความชัดเจนแก่ผู้บริโภค เกษตรกร ผู้ผลิต ผู้ประกอบการ และหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง

  24. เครื่องหมายรับรองมาตรฐานเครื่องหมายรับรองมาตรฐาน สินค้าเกษตรและอาหารกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ • ประเภทการรับรอง • รับรองสินค้าอาหาร • รับรองระบบการจัดการด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร • รับรองสินค้าที่ไม่ใช่อาหาร • รับรองระบบอื่นๆ ที่ไม่ใช่ด้านความปลอดภัย/คุณภาพอาหาร

  25. ระบบมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัยระบบมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย ของสินค้าเกษตรและอาหารไทย

  26. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร Food Safety Food Standards International Standards

  27. มาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร “FOOD SAFETY” • Physical • Microbiological • Hazardous Substances • Food Additives • Biotechnology

  28. ประเภทของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารประเภทของมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร แบ่งเป็น 3 ประเภท  มาตรฐานสินค้า: สินค้าเกษตรที่เป็นผลผลิต เป็นเกณฑ์ในการผลิต การค้า และการตรวจรับรองที่ครอบคลุมความปลอดภัย และคุณภาพ  มาตรฐานระบบ: เกณฑ์การตรวจรับรองการปฏิบัติของผลิต ในระดับฟาร์ม โรงคัดบรรจุ/โรงงานแปรรูป  มาตรฐานทั่วไป:เกณฑ์กำหนดทั่วไปต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย และสุขอนามัยสัตว์และพืช

  29. risk benefit แนวทางการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร • กำหนดมาตรฐานตรงและทันต่อความต้องการ • สอดคล้องกับมาตรฐานโลก/ประเทศคู่ค้า • ครอบคลุม Farm-to-Table • กระบวนการกำหนดมาตรฐานสอดคล้องตามแนวทางสากล • อยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ • อาศัยหลักการประเมินความเสี่ยง • โปร่งใส • รับฟังความเห็นจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเพื่อให้อยู่ในเกณฑ์ที่ปฏิบัติได้

  30. ขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารขั้นตอนในการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร 1 2 พิจารณาเรื่องที่กำหนดมาตรฐาน แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/อนุฯเฉพาะกิจ 3 4 คณะอนุฯ พิจารณาร่าง จัดทำร่าง/ยอมรับมาตรฐานระหว่างประเทศ 5 IPPC CODEX OIE 6 ประชาพิจารณ์/เวียนขอความเห็น เสนอคณะกรรมการมาตรฐานฯแห่งชาติ 8 ประกาศใช้มาตรฐาน 7 แจ้ง WTOกรณีมาตรฐานบังคับ 9 มาตรฐานบังคับ มาตรฐานสมัครใจ ทบทวนมาตรฐาน (ครบ 5ปี/มีข้อเสนอ)

  31. มาตรฐานข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร มกอช. 9007-2548 1. กำหนดมาตรฐานเพื่อใช้อ้างอิงสำหรับผู้ผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร ให้มีความปลอดภัย ได้มาตรฐาน เพื่อประโยชน์ในการค้า และเพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภค และสามารถนำมาตรฐานนี้ไปใช้เป็นแนวทางในการตรวจรับรองสินค้าเกษตรและอาหาร 2. กำหนดครอบคลุมสินค้าเกษตรและอาหารรวม 3 กลุ่ม ได้แก่ • พืชและผลิตภัณฑ์ • ปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ • สัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์

  32. มาตรฐานข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหารมาตรฐานข้อกำหนดด้านความปลอดภัยสินค้าเกษตรและอาหาร มกอช. 9007-2548 มาตรฐานมีข้อกำหนดความปลอดภัย ดังนี้ สารพิษตกค้าง  ระบบการผลิต  ยาสัตว์ตกค้าง  ศัตรูพืช  สารปนเปื้อน  โรคระบาดสัตว์  วัตถุเจือปนอาหาร  วิธีวิเคราะห์  จุลินทรีย์

  33. ปัจจัยการผลิต การผลิตในไร่นาและการเก็บเกี่ยว การจัดการหลังเก็บเกี่ยวและการจัดจำหน่าย พันธุ์, ปุ๋ย, ยาปราบศัตรูพืช, ฮอร์โมน ผักสด ผลไม้สด ธัญพืช, พืชหัว, ไม้ดอก ผักสด ผลไม้สด ธัญพืช, พืชหัว, ไม้ดอก โรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์ผัก ผลไม้กระป๋อง น้ำผลไม้กระป๋องผลไม้อบแห้ง ตากแห้ง ฯลฯ ผัก ผลไม้สดฯลฯ ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ ผัก ผลไม้สด ฯลฯ ส่งออก บริโภคภายใน กฎหมาย/กฎระเบียบ/มาตรฐานความปลอดภัยอาหารกลุ่มพืชและผลิตภัณฑ์ พ.ร.บ. พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 พ.ร.บ. ปุ๋ย พ.ศ. 2518 พ.ร.บ. กักพืช พ.ศ. 2507 พ.ร.บ. วัตถุอันตราย พ.ศ. 2535 พ.ร.บ. คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 • วิเคราะห์ดิน, ปุ๋ย และน้ำ • - คลินิกพืช • - ยาปราบศัตรูพืช • - ตรวจ GMOs (พันธุ์พืช) • (กรมวิชาการเกษตร) มาตรฐานและคำแนะนำ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) (มกอช./กรมวิชาการเกษตร) การรับรองมาตรฐาน GAP( กรมวิชาการเกษตร) พ.ร.บ. มาตรฐานสินค้าขาออก พ.ศ. 2503 พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. ส่งออกไปและนำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ตรวจสอบรับรองมาตรฐาน ( กรมวิชาการเกษตร)การรับรองระบบ GMP มาตรฐานสินค้าเกษตร (มกอช./กรมวิชาการเกษตร) พ.ร.บ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. โรงงานอุตสาหกรรม พ.ศ.2535 พ.ร.บ. คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ตรวจรับรองมาตรฐานสินค้า GMP และ HACCP (กรมวิชาการเกษตร, กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) มาตรฐานระบบการผลิต (มกอช.) ตรวจรับรองศัตรูพืช/สินค้า(กรมวิชาการเกษตร) มาตรฐานสินค้า (มกอช.)

  34. โรงงานแปรรูปนม โรงงานอาหารสัตว์ โรงฆ่าสัตว์ ศูนย์รวบรวมน้ำนมดิบ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์สัตว์ ผลิตภัณฑ์นม อาหารสัตว์ ไส้กรอก, กุนเชียง, อาหารกระป๋อง เนื้อสัตว์ น้ำนมดิบ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ฟาร์มพ่อแม่พันธุ์ โรงฟักไข่ ฟาร์มโคนม สัตว์มีชีวิต น้ำนมดิบ กฎหมาย/กฎระเบียบ/มาตรฐานความปลอดภัยอาหารกลุ่มปศุสัตว์และผลิตภัณฑ์ พ.ร.บ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 วัตถุดิบอาหารสัตว์ ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารสัตว์ (กรมปศุสัตว์) ส่งออก พ.ร.บ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ. 2525 พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ. 2499มาตรฐานและคำแนะนำการผลิตเกษตรดีที่เหมาะสม(มกอช./กรมปศุสัตว์) การรับรองมาตรฐานวิธีการผลิต (GAP) ตรวจสอบรับรอง HACCP(กรมปศุสัตว์) พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ.ควบคุมการฆ่าและจำหน่ายสัตว์ พ.ศ. 2525 ตรวจรับรอง GMP (กรมปศุสัตว์) มาตรฐานระบบการผลิต (มกอช.) ตรวจรับรอง GMP และผลิตภัณฑ์ (กรมปศุสัตว์) มาตรฐานสินค้า (มกอช.) พ.ร.บ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 บริโภคภายในประเทศ ส่งออก

  35. การประมง/ธรรมชาติ การเพาะเลี้ยง การนำเข้า สด สด สด มีชีวิต มีชีวิต มีชีวิต สะพานปลา ท่าเทียบเรือ โรงบรรจุ สด มีชีวิต โรงงานแปรรูป ผลิตภัณฑ์ต่างๆ สด ผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ สด มีชีวิต บริโภคภายใน ส่งออก กฎหมาย/กฎระเบียบ/มาตรฐานความปลอดภัยอาหารกลุ่มสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ • รับรองแหล่งเพาะเลี้ยง • รับรองสุขอนามัยแหล่งเพาะเลี้ยง พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2490 มาตรฐานสินค้าประมง/COC (มกอช./กรมประมง) • ออกใบรับรองคุณภาพน้ำและสุขลักษณะแหล่งเพาะเลี้ยง • ออกใบรับรอง CITES (กษ./กรมประมง) • ออกใบอนุญาตนำเข้าสัตว์น้ำที่มีชีวิต (กรมประมง) • ตรวจสอบรับรองมาตรฐานสินค้า/รับรองฟาร์ม (กรมประมง) • ตรวจ/รับรองสุขลักษณะของสถานที่บรรจุ (กษ./กรมประมง) • ตรวจสอบ/ออกใบรับรองสุขภาพสัตว์น้ำที่มีชีวิต (กษ./กรมประมง) พ.ร.บ. อาหาร พ.ศ. 2522 พ.ร.บ. มาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ตรวจรับรองสุขลักษณะของโรงงาน HACCP (กษ./กรมประมง, สาธารณสุข/อย. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตรวจควบคุมสารปนเปื้อน (อย.) มาตรฐานสินค้า (มกอช.) ตรวจสอบ/รับรองคุณภาพสด/ผลัตภัณฑ์ (กษ./กรมประมง, สาธารณสุข/กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์) มาตรฐานสินค้า (มกอช.) ตรวจรับรองผลิตภัณฑ์ (สมอ.)

  36. แหล่งข้อมูลมาตรฐานความปลอดภัยอาหารแหล่งข้อมูลมาตรฐานความปลอดภัยอาหาร http://www.acfs.go.th http://www.foodstandards.gov.au http://www.efsa.eu.int http://europa.eu.int/comm/food/food/index_en. http://www.cfsan.fda.gov http://www.epa.gov http://www.hc-sc.gc.ca/food-aliment/e_index.html http://www.codexalimentarius.net http://www.ippc.int http://www.oie.int

  37. Q & A

  38. “ผู้บริโภคปลอดภัย เกษตรกรไทยมั่งคั่ง”

More Related