700 likes | 822 Views
ฝากงานครับ. ให้นักศึกษาทำเอกสารแนะนำตนเอง ให้ดูน่าสนใจมากที่สุด โดยมีรายละเอียดดังนี้ . - เอกสารขนาด A4. ข้อมูลที่ต้องมี - ชื่อ นามสกุล - ข้อมูลสำหรับติดต่อ โทรศัพท์, e-mail , face book - ความคาดหวังจากรายวิชานี้. ส่งงาน อังคารที่ 9 พ.ย. 53.
E N D
ฝากงานครับ ให้นักศึกษาทำเอกสารแนะนำตนเอง ให้ดูน่าสนใจมากที่สุด โดยมีรายละเอียดดังนี้ - เอกสารขนาด A4 • ข้อมูลที่ต้องมี • - ชื่อ นามสกุล • - ข้อมูลสำหรับติดต่อ โทรศัพท์, e-mail, face book • - ความคาดหวังจากรายวิชานี้ ส่งงาน อังคารที่ 9 พ.ย. 53
เทคโนโลยีสารสนเทศ สำหรับครู (Information Technology for Teacher) . อาจารย์ชนกานต์ สุวรรณทรัพย์ Tel. 089-107-1105 e mail: suwannasab8@Hotmail.com คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คืออะไร เทคโนโลยี สารสนเทศ +
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คืออะไร เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนำเอาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาพัฒนาเป็นองค์ความรู้ใหม่เพื่อนำมาประยุกต์ ใช้ให้เกิดประโยชน์ สารสนเทศ สิ่งที่ได้จากการนำข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาประมวลผล เพื่อนำมาใช้ประโยชน์ตามจุดประสงค
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คืออะไร การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คืออะไร 1. เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology) 2.กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) คืออะไร ทำให้คนส่วนมากมักเข้าใจว่าไอทีจะเกี่ยวข้องกับเรื่องของการใช้คอมพิวเตอร์ในการประมวล จัดเก็บ ค้นคืน และใช้สารสนเทศเพียงอย่างเดียวโดยไม่จำเป็นต้องส่งผ่านสารสนเทศนั้นไปยังที่ใด จึงทำให้มีผู้ใช้คำ “ไอซีที” ขึ้นมา Information and Communication Technology
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) เทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศ เป็นเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องตั้งแต่การรวบรวมข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้างรายงาน การสื่อสารข้อมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศจะรวมไปถึงเทคโนโลยีที่ทำให้เกิดระบบการให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุคเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม ยุคสังคมฐานความรู้ ยุคหลังสังคมฐานความรู้
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมถึงเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีการสื่อสารและโทรคมนาคม ซึ่งในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีทั้งสองด้านอย่างต่อเนื่อง และรวดเร็ว ทั้งขนาด ประสิทธิภาพในการทำงาน รวมทั้งปริมาณการเก็บข้อมูลที่เพิ่มมากขึ้น
พัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาการของเทคโนโลยีสารสนเทศ การรวมตัวกันของเทคโนโลยี ต้นทุนที่ถูกลง การพัฒนาอุปกรณ์ที่เล็กลง การพกพาและการเคลื่อนที่ การประมวลผลที่ดีขึ้น การใช้งานที่ง่าย ความเป็นสื่อผสม
ลักษณะสำคัญเทคโนโลยีและสารสนเทศลักษณะสำคัญเทคโนโลยีและสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องกับคนทุกระดับ เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยเพิ่มผลผลิต ลดต้นทุน และ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งที่จำเป็น สำหรับการดำเนินการในหน่วยงานต่างๆ เทคโนโลยีสารสนเทศเปลี่ยนรูปแบบการบริการเป็นแบบกระจาย
ใบงาน1 1. อธิบายความแตกต่างของคำว่าข้อมูล และสารสนเทศ 2. อธิบายความหมายของคำว่า Information and Communication Technology 3.ท่านคิดว่าเทคโนโลยีสารสนเทศ มีบทบาทในการดำเนินชีวิตประจำวันของท่านในด้านไหนบ้าง อย่างไร
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ ด้านเศรษฐกิจ มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเป็นตัวการดำเนินงานหลักของธุรกิจให้สามารถแข่งขันกับคู่แข่งได้ โดยอาศัยข้อมูลในการศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบรวมถึงเผยแพร่ ด้านสังคม เทคโนโลยีสารสนเทศช่วยพัฒนาสังคมให้เกิดการเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ ลดความแตกต่างระหว่างบุคคลทำให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขมากยิ่งขึ้น
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ ด้านสาธารณสุข มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อสนับสนุนและแลกเปลี่ยนข้อมูล การรักษาผู้ป่วย ลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์ในที่ห่างไกล ด้านสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ระบบสารสนเทศเข้ามาจัดเก็บข้อมูลและประมวลผลทางภูมิศาสตร์ ทำให้สามารถใช้ข้อมูลในการวางแผน การวิเคราะห์สถานการณ์ การพยากรณ์ หรือการควบคุมให้เป็นไปในทิศทางที่ถูกต้องและเหมาะสม
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศเทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนาประเทศ ด้านการศึกษา มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาการศึกษาในด้าน การบริหาร จัดการการเรียนการสอน แก้ปัญหาการขาดแคลนครูผู้สอน พัฒนาวิธีการเรียนการสอนการศึกษาวิจัย รวมถึงการเผยแพร่แลกเปลี่ยนข้อมูลด้านการศึกษา
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย ในปีพ.ศ.2535 รัฐบาลได้จัดตั้งคณะกรรมการเทคโนโลยี สารสนเทศแห่งชาติหรือ กทสช(Information Technology Committee : NITC) ขึ้นด้วยเล็งเห็นว่าสังคมจะต้องมีการเตรียมการเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในยุคข่าวสารข้อมูล จึงมีการตั้งหน่วยงานเพื่อรองรับงานด้านนโยบายขึ้น โดยมอบหมายให้ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ หรือเนคเทคทำหน้าที่เป็นสำนักงานเลขานุการเพื่อกลั่นกรองนโยบายและมาตรการที่จะมีผลต่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้เอื้ออำนวยการต่อการพัฒนาประเทศ
นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทยนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2545 ตามพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 มีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนส่งเสริม พัฒนา และดำเนินกิจกรรมเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การอุตุนิยมวิทยา และการสถิติ และราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยี สารสนเทศ ในปัจจุบัน มีการนำคอมพิวเตอร์มาใช้ จึงทำให้เป็นคอมพิวเตอร์กลายเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารและเครือข่าย ฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ กระบวนการ บุคลากร ข้อมูล
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วงเพื่อใช้ใน การจัดทำสารสนเทศ ซอฟท์แวร์ หรือโปรแกรม เป็นชุดคำสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ทำงาน ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนำมาใช้ในการประมวลผลให้ได้สารสนเทศในการตัดสินใจ การสื่อสารและเครือข่าย การเชื่อมโยงคอมพิวแตอร์เพื่อการสื่อสารและแลกเปลี่ยนข้อมูล บุคลากร บุคคลที่จัดการให้คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ กระบวนการ ข้อปฏิบัติในการใช้โปรแกรม ฮาร์ดแวร์ และการกระทำกับข้อมูล
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ :คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด มีความสามารถในการประมวลผลที่ทำได้ถึงพันล้านคำต่อวินาที เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ ออกแบบชิ้นส่วนรถยนต์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เมนเฟรม:คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพรองจากซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ ความสามารถรองรับการใช้งานของผู้ใช้ได้จำนวนมากในเวลาเดียวกัน จัดเก็บข้อมูลได้เป็นจำนวนมาก
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ มินิคอมพิวเตอร์ : คอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพความเร็วและประมวลผลน้อยกว่าเมนเฟรมรองรับการทำงานได้หลายคน คอมพิวเตอร์ประเภทนี้พัฒนามาจากการใช้งานเฉพาะอย่าง
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ : คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC) แบ่งได้เป็น 1 All- In- One Computer 2 Workstation 3 Stand-alone Computer 4 ServerComputer ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพศากุล: ระบบสารสนเทศและการจัดการความรู้
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ Laptop Computer : คอมพิวเตอร์แบบโน้ตบุ๊ค เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่มีขนาดเล็ก บางน้ำหนักเบา พกพาไปใช้ที่ต่างๆ ได้ง่าย Tablet PC: มีคุณสมบัติใกล้เคียง Notebook computers แต่โดยส่วนใหญ่จะมีขนาดเล็กกว่า สามารถนำเข้าข้อมูลทางหน้าจอโดยตรง (Touch screen) ผ่านอุปกรณ์พิเศษที่เรียกว่า Stylus หรือ Digital pen หรือสั่งงานทางเสียงได้โดยผ่านไมโครโฟนที่ติดอยู่กับตัวเครื่อง
Stylus ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ Hand-held Personal Computer: เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลขนาดเล็กที่สามารถถือได้ในฝ่ามือของผู้ใช้ นิยมเรียกว่าPersonal Digital Assistant (PDA) ส่วนมากใช้เก็บข้อมูลส่วนบุคคล เช่น ที่อยู่และเบอร์โทรศัพท์ กิจกรรมหรือนัดหมายการประชุม ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลได้โดยตรงทางหน้าจอ หรือผ่านทาง Keyboard ขนาดเล็ก
ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ ประเภทของคอมพิวเตอร์ Embedded Computer: คอมพิวเตอร์แบบฝั่งในอุปกรณ์พกพาต่างๆ เช่นโทรศัพท์มือถือ เกมส์ จะใช้งานเฉพาะด้านหากดูภายนอกอาจจะไม่เห็นว่าเป็นคอม
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ Hardware Software People ware Data
เทคโนโลยีสารสนเทศ วงจรการทำงานของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การทำงานของคอมพิวเตอร์ มีด้วยกัน4ตอน หรือที่เรียกกันย่อๆ ว่า IPOS Cycle
องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบหลักของคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์รับข้อมูล หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจำ อุปกรณ์แสดงผล อุปกรณ์การสื่อสาร อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง
เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์รับข้อมูล อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่รับข้อมูลโปรแกรม และคำสั่งเข้าสู่รบบคอมพิวเตอร์ เช่น จาก Keyboard, Mouse, Scanner เป็นต้น
เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ หน่วยประมวลผลกลาง Central Processing Unit :CPU เป็นชุดวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ และหน่วยคำนวณ ทำหน้าที่คำนวณทางคณิตศาสตร์ หรือเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์
เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ หน่วยความจำ Main Memory หน่วยความจำหลักที่รู้จักกันโดยทั่วไป จะมี 3 ประเภทคือ หน่วยความจำแรม (RAM) หน่วยความจำรอม (ROM) หน่วยความจำซีมอส(CMOS)
เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์แสดงผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ แสดงผลจากการประมวลข้อมูล อาจอยู่ในรูปของการแสดงผลทางจอภาพ การพิมพ์งานจากเครื่องพิมพ์ อปกรณ์ที่ทำหน้าที่แสดงผลที่รู้จักกันแพร่หลายเช่น เครื่องพิมพ์ (Printer) จอภาพ (Monitor)
เทคโนโลยี ฮาร์ดแวร์ อุปกรณ์เก็บข้อมูลสำรอง ใช้สำหรับจัดเก็บโปรแกรมและข้อมูลเพื่อใช้ในการประมวลผล โดยสามารถจัดเก็บไว้ได้ถึงแม้ว่าจะไม่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงก็ตาม ตัวอย่างได้แก่ Hard disk, CD, DVD,Flash Drive
การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์การบริหารทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ การบริหารเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งาน ควรพิจารณา - สอดคล้องกับความจำเป็นในปัจจุบัน และวางแผนเพื่ออนาคต - ตรงตามความต้องการของหน่วยงาน - จัดทำระบบข้อมูลเกี่ยวกับทรัพยากรคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์
เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ ปกติเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ออกมาจากโรงงานจะยังไม่สามารถทำงานได้ ต้องมีซอฟต์แวร์ซึ่งเป็นชุดคำสั่งที่สั่งให้ฮาร์แวร์ทำงานต่างๆ ได้ตามต้องการ โดยชุดคำสั่งหรือโปรแกรมถูกเขียนขึ้นจาก โปรแกรมเมอร์ (Programmer) โดยใช้ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language) เป็นเครื่องมือในการพัฒนา ซอฟต์แวร์แบ่งได้เป็นสองประเภทคือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (System Software)
เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) แบ่งได้อีกเป็น 2 ประเภทคือ ระบบปฏิบัติการ (Operating System: OS) โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Programs)
เทคโนโลยี ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (System Software) โปรแกรมประมวลผลคำ (Word Processor) โปรแกรมด้านการคำนวณ (Spreadsheet) โปรแกรมด้านการคำนำเสนอข้อมูล (Presentation) โปรแกรมด้านการจัดการฐานข้อมูล (Database) โปรแกรมด้านการพิมพ์ (Desktop Publishing) โปรแกรมด้านกราฟิก (Graphics)
การบริหารทรัพยากรซอฟต์แวร์ การบริหารทรัพยากรซอฟต์แวร์ การเลือกใช้ซอฟท์แวร์สำหรับองค์กร ความเหมาะสมกับลักษณะงาน ความเป็นมาตรฐาน ความเข้ากันได้กับอุปกรณ์ เหมาะสมกับบุคลากร
People ware 1.Operator >ป้อนข้อมูลจากเอกสารเข้าเครื่องคอมพิวเตอร์ 2.User >บุคคลที่เป็นผู้ใช้ผลการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. Programmer >เขียนโปรแกรมหรือเขียนชุดคำสั่ง 4. System Analyst >วิเคราะห์ความต้องการของผู้ใช้ 5. System Engineer >การออกแบบตัวเครื่องคอมพิวเตอร์
ใบงาน 2 นักศึกษาคิดว่าแนวโน้มของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ในอนาคตจะเป็นลักษณะใด และท่านคิดว่าจะนำอุปกรณ์ดังกล่าวมาใช้ในการจัดการศึกษาได้อย่างไร - ระดมสมอง แบ่งงาน • จัดทำ power point และส่งตัวแทน นำเสนอกลุ่มละ 5-7 นาที “จินตนาการสำคัญกว่าความรู้”
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Computer Network
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง 1. ผู้ส่ง (Sender) 2. ผู้รับ (Receiver) 3. สื่อกลาง (Medium) 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) 5. โปรโตคอล (Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ชนิดของสัญญาณข้อมูล สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง ที่มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์(Sine Wave) โดยหน่วยวัดสัญญาณแบบนี้คือ เฮิรตซ์(Hertz)