190 likes | 570 Views
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. วิสัยทัศน์. “ ก้าวทันกระแสการค้าโลก เจรจาเชิงรุก เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ ” . ค่านิยม. H = Happiness ( มีความสุขกับการทำงาน ) A = Accountability ( มีความรับผิดชอบ )
E N D
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วิสัยทัศน์ “ ก้าวทันกระแสการค้าโลก เจรจาเชิงรุก เพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ ” ค่านิยม • H = Happiness (มีความสุขกับการทำงาน) • A = Accountability (มีความรับผิดชอบ) • T = Teamwork (ทำงานเป็นทีมเพื่อบรรลุเป้าหมายร่วมกัน)
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ วัฒนธรรม • ทุ่มเททำงาน ยึดหลักวิชาการ • มุ่งผลประโยชน์ส่วนรวมเป็นหลัก พันธกิจ • เจรจาการค้าระหว่างประเทศเพื่อขยายโอกาส ปกป้อง และรักษาผลประโยชน์ทางการค้า การลงทุน • เสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน • พัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์กรให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3
โครงสร้างกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศโครงสร้างกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ อธิบดี นักวิชาการพาณิชย์ 9 ชช. = 7 รองอธิบดี = 3 กลุ่มตรวจสอบ ภายใน 1 17 สำนักเจรจา การค้าพหุภาคี 24 สำนักอาเซียน สำนักเจรจาการค้าบริการและการลงทุน 19 สำนัก เจรจาสินค้า 22 สำนักอเมริกา และแปซิฟิก 20 สำนักยุโรป ตะวันออกกลาง และแอฟริกา สำนักเอเชีย 17 20 21 สำนัก บริหารยุทธศาสตร์ สำนัก บริหารกลาง 71 อัตรากำลัง : ข้าราชการ 243 อัตรา ลูกจ้างประจำ 25 อัตรา
โครงสร้างอัตรากำลัง ข้าราชการ 213 คน ลูกจ้างประจำ 25 คน (ณ ปัจจุบัน) ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่ง 1 คน0.5% ระดับ 10 ปริญญาโท 54.2% - ต่างประเทศ 80% - ในประเทศ 20% 11 คน5.0% ระดับ 9 ปริญญาตรี30.8% 97 คน44.3% ระดับ 7 - 8 100 คน45.7% ระดับ 4 - 6 ปริญญาเอก2.8% ต่ำกว่าปริญญาตรี12.1% 10 คน4.6% ระดับ 1 - 3
งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2552 หน่วย : ล้านบาท สัดส่วนงบรายจ่ายประจำปี พ.ศ. 2552 จำแนกตามประเภท หน่วย : ล้านบาท
กฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมฯ พระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การการค้าโลก พ.ศ. 2537 เพื่อคุ้มครองการดำเนินงานในประเทศไทยขององค์การการค้าโลกให้บรรลุตามความมุ่งประสงค์ ได้แก่ (1) ให้ยอมรับนับถือว่าองค์การเป็นนิติบุคคล และให้ถือว่ามีภูมิลำเนา ในประเทศไทย (2)ให้องค์การ เจ้าหน้าที่ขององค์การ และผู้แทนของสมาชิกขององค์การได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทำนองเดียวกับทบวงการชำนัญพิเศษ ผู้แทนของสมาชิกและพนักงานของทบวงการชำนัญพิเศษตามที่ระบุไว้ในอนุสัญญาว่าด้วย เอกสิทธิ์และความคุ้มกันของทบวงการชำนัญพิเศษฉบับที่สมัชชาแห่งสหประชาชาติได้ลงมติรับเมื่อวันที่ 21พ.ย.2490 หรือความตกลงที่อาจมีขึ้นระหว่างรัฐบาลไทยกับองค์การ ทั้งนี้ ในระหว่างที่ปฏิบัติหน้าที่ในประเทศไทยหรือเข้ามาในประเทศไทยเพื่อปฏิบัติหน้าที่หรือในการปฏิบัติภารกิจเกี่ยวกับองค์การ
การประชุมเจรจาในเวทีต่างๆ Multilateral Regional APEC(21 เขตเศรษฐกิจ) Bilateral WTO(151 ประเทศ) ASEM(43 ประเทศ + 2 องค์กร) FTA8 ประเทศ + 3 กลุ่มเศรษฐกิจ ASEAN(10 ประเทศ)
ภารกิจสำคัญที่กรมฯ ต้องดำเนินการ
กรอบทวิภาคี ผลกระทบจากการเปลี่ยนประธานาธิบดีสหรัฐฯ • ด้านนโยบายของสหรัฐอเมริกา • นโยบายต่อไทย คงจะไม่เปลี่ยนแปลงจากเดิม ตราบใดที่ไทยยังคงอยู่ในวิถีประชาธิปไตย • นโยบาย FTA จะไม่เร่งเปิดเจรจาใหม่ เน้นปรับปรุงข้อตกลงที่ได้ทำไปแล้ว ให้มีการคุ้มครองด้านแรงงานและสิ่งแวดล้อมมากขึ้น • นโยบายต่อภูมิภาค ให้ความสำคัญกับระดับพหุภาคีและระดับภูมิภาค เช่น WTO เอเปคอาเซียน(โดยเฉพาะการเข้าร่วมประชุม East Asia Summit)
กรอบทวิภาคี ผลกระทบจากการเปลี่ยนประธานาธิบดีสหรัฐฯ (ต่อ) ผลกระทบต่อไทย การค้าโดยรวมไม่กระทบมากนัก ปี 2007 ส่งออกลดลง 1% และ9 เดือนแรกของปี 2008 ส่งออกเพิ่มขึ้น 8% แต่คาดว่าอนาคตการค้าทั้งสองฝ่ายจะลดลงจากปัญหา • วิกฤตการเงินสหรัฐฯ • มาตรการทางการค้าที่เข้มงวด ในเรื่องแรงงานและสิ่งแวดล้อม • กฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายห้ามนำเข้าหยกและทับทิมจากพม่า (Tom Lantos Block Burmese Jade Act) กฎหมายการนำเข้าสินค้า ที่เกี่ยวกับพืช/ไม้ (Lacey Act) กฎหมายเพิ่มความปลอดภัยสินค้า (Consumer Product Safety Improvement Act)
กรอบภูมิภาค การประชุม ASEAN Summit ประเทศไทยจะเป็นเจ้าภาพจัดการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 14 ระหว่างวันที่ 15-18 ธ.ค. 51 ณ จังหวัดเชียงใหม่ รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM) มีกำหนดหารือเพื่อเตรียมการกันก่อนในวันที่ 15 ธ.ค. 51ประเด็นหารือสำคัญ ได้แก่ • การดำเนินงานตามข้อผูกพันภายใต้กฎบัตรอาเซียน • การเปิดเสรีการค้าบริการของอาเซียน • ความคืบหน้าของการเจรจาเขตการค้าเสรีของอาเซียนกับประเทศ คู่เจรจาต่างๆ
กรอบภูมิภาค การประชุม ASEAN Summit (ต่อ) • ความตกลงที่ลงนามโดยมีผู้นำร่วมเป็นสักขีพยาน • ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน (ATIGA) • ความตกลงด้านการลงทุนแบบเต็มรูปแบบของอาเซียน (ACIA) • ความตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างอาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ (AANZFTA) • ความตกลงการค้าสินค้าระหว่างอาเซียน-อินเดีย (ASEAN-India TIG) • ความตกลงด้านการลงทุนระหว่างอาเซียน-จีน (ASEAN-China Investment Agreement)
กรอบภูมิภาค การประชุม ASEAN Summit (ต่อ) • ความตกลงที่ลงนามโดยไม่มีผู้นำร่วมเป็นสักขีพยาน • พิธีสารเพื่อดำเนินการตามข้อผูกพัน ชุดที่ 7 ภายใต้ความตกลงการค้า บริการของอาเซียน • ความตกลงว่าด้วยการยอมรับร่วมรายสาขาของอาเซียนสำหรับผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์ยาตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต • พิธีสารเพื่อเข้าร่วมเป็นภาคีภายใต้ความตกลงการค้าสินค้า และการค้า บริการของไทยภายใต้เขตการค้าเสรีอาเซียน-เกาหลี รวม 4 ฉบับ • บันทึกความเข้าใจเรื่องการรับซื้อน้ำตาลระหว่างไทยกับอินโดนีเซีย ภายใต้พิธีสารว่าด้วยการพิจารณาเป็นพิเศษสำหรับสินค้าข้าวและน้ำตาล
กรอบภูมิภาค การประชุมภายใต้กรอบ ASEANในปี 2552 การประชุมที่รัฐมนตรีต้องมีส่วนร่วมในปีหน้า • การประชุม AEM Retreat (ก.พ. 52) รมว.พณ. เป็นหัวหน้าคณะฯ • การประชุม 1st AEC Council (ก.พ. 52) อยู่ระหว่างเสนอ ครม. มอบหมายผู้แทนไทย • การประชุม ASEAN Summit Retreat (เม.ย. 52) (นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะฯ) • การประชุมรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน (AEM) ครั้งที่ 41(ส.ค. 52)รมว.พณ. เป็นหัวหน้าคณะฯ • การประชุม ASEAN Summit ครั้งที่ 15 (ต.ค. 52) (นายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้าคณะฯ)
กรอบภูมิภาค • การประชุม AMM ภายใต้กรอบ APEC ณ กรุงลิมา ประเทศเปรูAMM Retreat : วันที่ 19 พฤศจิกายน 2551 วิกฤตเศรษฐกิจโลก (Global Economic Issues)การสนับสนุนการเจรจารอบโดฮาภายใต้ WTOการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดมากขึ้นในภูมิภาค (Regional Economic Integration : REI) - การรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท (Corporate Social Responsibility :CSR) - ความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security) - การปฏิรูปเอเปค (APEC Institution Reform)AMM Plenary : วันที่ 20 พฤศจิกายน 2551 ผลการดำเนินงานด้านการค้าการลงทุน (2008 Trade and Investment Deliverables) - การต่อต้านการทุจริตและความโปร่งใส (Anti-Corruption and Transparency) - ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ (Economic and Technical Cooperation) - ความมั่นคงของมนุษย์ (Human Security) - การปฏิรูปเอเปค (APEC Reform)
กรอบพหุภาคี • การประชุมระดับรัฐมนตรีอย่างไม่เป็นทางการ : ต้นเดือน ธ.ค. 51 (tbc) • กรณีพิพาท • ไทยฟ้องคู่กรณี - สหรัฐฯ เรื่อง กุ้ง (C-Bond และ Zeroing) • คู่กรณีฟ้องไทย - ฟิลิปปินส์ เรื่อง บุหรี่ - EU เรื่อง การประเมินราคาศุลกากร
สถานะล่าสุด FTA ความตกลงระดับทวิภาคีหลายฉบับมีผลใช้บังคับแล้ว ซึ่งเป็นการสร้างความได้เปรียบให้แก่สินค้าไทยในตลาดเหล่านั้น อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา Single Undertaking ไทย-ญี่ปุ่น ใช้บังคับ 1 พฤศจิกายน 2550 ไทย-ออสเตรเลีย ใช้บังคับ 1 มกราคม 2548 ไทย-นิวซีแลนด์ ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2548 ไทย-เปรู ลงนามพิธีสารเร่งเปิดเสรีการค้าและอำนวยความสะดวกทางการค้า ไทย-EFTA อยู่ระหว่างการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ ความตกลงว่าด้วย: สินค้า บริการ ลงทุน ไทย-อินเดีย 82 รายการ (1 ก.ย. 2547) BIMSTEC
สถานะล่าสุด FTA อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา อยู่ระหว่างการเจรจา ทิศทางการเจรจา : จัดทำความตกลงอาเซียน-คู่เจรจาหลายกรอบ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของไทย Single Undertaking อาเซียน-ญี่ปุ่น ลงนามและผ่านความเห็นชอบรัฐสภาแล้ว แต่มีข้อสังเกตของรัฐสภา อาเซียน-ออสเตรเลีย-นิวซีแลนด์ สรุปข้อตกลงการค้าสินค้า บริการ และการลงทุนแล้ว พณ.จะเสนอครม.เพื่อเสนอรัฐสภา อาเซียน-EU อยู่ระหว่างการเจรจา แยกความตกลงเป็นฉบับย่อยๆ สินค้า บริการ ลงทุน ความตกลงว่าด้วย : อาเซียน-จีน ใช้บังคับ 20 กรกฎาคม 2548 ใช้บังคับ 1 กรกฎาคม 2550 อาเซียน-เกาหลี ครม.เห็นชอบให้ลงนามได้ ครม.เห็นชอบให้ลงนามได้ อาเซียน-อินเดีย อยู่ระหว่างการเจรจา บรรลุข้อตกลงในแนวทางการลดภาษี