1 / 32

การชนและโมเมนตัม (Collision and Momentum)

การชนและโมเมนตัม (Collision and Momentum). ..............(1). เรียก โมเมนตัมเชิงเส้น (linear momentum) เขียนแทนด้วย. มีหน่วยเป็น kg m s -1. แทนค่า ด้วย ในสมการที่ (1) จะได้. โมเมนตัม ( MOMENTUM ). จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน.

jalene
Download Presentation

การชนและโมเมนตัม (Collision and Momentum)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การชนและโมเมนตัม (Collision and Momentum)

  2. ..............(1) เรียก โมเมนตัมเชิงเส้น (linear momentum) เขียนแทนด้วย มีหน่วยเป็น kg m s-1 แทนค่า ด้วย ในสมการที่ (1) จะได้ โมเมนตัม ( MOMENTUM ) จากกฎการเคลื่อนที่ข้อที่สองของนิวตัน

  3. เมื่อ เป็นโมเมนตัมที่เวลา วินาที และ เป็นโมเมนตัมที่เวลา วินาที จะได้ เรียกว่า การดล (Impulse) Iดังนั้นการดลจึงเป็นปริมาณเวกเตอร์ มีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม การเปลี่ยนโมเมนตัมจากเวลา t วินาทีถึง t/วินาทีคือ

  4. แรง ซึ่งมีทิศคงที่แต่มีขนาด เปลี่ยนตามเวลา การดลในเวลา คือ เรียกแรง ที่กระทำต่อวัตถุในช่วงเวลาสั้นๆนี้ว่า แรงดล (impulsive force) พื้นที่ใต้กราฟคือขนาดของการดลทั้งหมด

  5. การดลของแรง คือ = = F N  การดลของแรง คือ = = f การดลของแรง คือ = = mg การดลของแรง คือ = = ดังนั้น = ดังนั้นการดลของแรงลัพธ์ จะเป็น

  6. สามารถเขียนเป็น เรียกสมการข้างบนว่า สมการการดล–โมเมนตัม

  7. Ex แรง F ซึ่งแปรตามเวลา ดังนี้ F = 3t2+2t+1 นิวตัน กระทำกับวัตถุมวล 100 g เมื่อเวลา t = 0 วินาที วัตถุมีความเร็ว 100 เมตร/วินาที หากเวลา t = 1 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด ถ้า ก. แรงมีทิศทางเดียวกับความเร็วต้น ( 130 เมตร/วินที ทิศทางเดียวกับความเร็วต้น) ข. แรงมีทิศตรงกันข้ามกับความเร็วต้น ( 70 เมตร/วินที ทิศทางเดียวกับความเร็วต้น)

  8. Ex ถ้าลูกบอลมวล m วิ่งเข้าชนกำแพงด้วยความเร็ว u โดยทำมุม กับ เส้นตั้งฉากกับกำแพง และสะท้อนออกจากกำแพงด้วยความเร็ว u และทำมุม กับเส้นตั้งฉากกับกำแพง ดังรูป ถ้าลูกบอลกระทบกำแพงใช้เวลาทั้งหมด t แรงเฉลี่ยที่ลูกบอลกระทำกับกำแพง เท่ากับเท่าใด

  9. ถ้าไม่มีแรงลัพธ์ภายนอกไปกระทำที่วัตถุ กล่าวคือ = 0 = ค่าคงที่ = = ค่าคงที่ มวล = ค่าคงที่ Law of conservation of momentum จากสมการ “ถ้าไม่มีแรงลัพธ์ภายนอกกระทำกับวัตถุโมเมนตัมของวัตถุจะมีค่าคงที่” เหตุการณ์ที่v = constanct << c

  10. จากการทดลอง กรณี : ห้องเมฆ(cloud chamber) “โมเมนตัมของวัตถุทั้งหมดที่กำลังพิจารณาจะคงที่ถ้าไม่มีแรงลัพธ์ใดๆจากภายนอกกระทำต่อวัตถุเหล่านั้น”

  11. 2 1 โมเมนตัมของมวลที่ 1 ที่เปลี่ยนไป โมเมนตัมของมวลที่ 2 ที่เปลี่ยนไป บวกสมการทั้งสองเข้าด้วยกัน จะได้ โมเมนตัมรวมก่อนชน = โมเมนตัมรวมหลังชน

  12. One dimensional collision การชนของวัตถุจัดได้เป็น 2 แบบใหญ่ ๆ พิจารณาที่พลังงานจลน์ 1. การชนแบบยืดหยุ่น (Elastic collision) คือการชนที่พลังงานจลน์ของระบบคงที่ ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 แบบ การชนแบบยืดหยุ่นแบบสมบูรณ์ การชนแบบยืดหยุ่นแบบไม่สมบูรณ์ 2. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (Inelastic collision) คือการชนที่พลังงานจลน์ก่อนและหลังการชนมีค่าเปลี่ยนแปลงไปซึ่งแบ่งได้เป็น 2 แบบ การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบสมบูรณ์ การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบไม่สมบูรณ์

  13. ถ้าทราบค่า , , , สามารถหาค่า , ได้จากสมการข้างต้น ดังนี้ กรณี = จะได้ว่า กรณีพิเศษต่าง ๆ ของการชนแบบยืดหยุ่น กรณีm2 อยู่นิ่ง

  14. จากสมการ หรือ หรือ **ใช้ได้ในกรณี 1 มิติเท่านั้น

  15. การชนแบบไม่ยืดหยุ่น (Inelastic collision) การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบสมบูรณ์ การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบไม่สมบูรณ์ การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบสมบูรณ์

  16. การชนแบบไม่ยืดหยุ่นแบบไม่สมบูรณ์ การดีด (Recoil) จากกฎการคงตัวของโมเมนตัม จะได้

  17. ก่อนชน หลังชน แกน x : แกน y : การชนใน 2 มิติ (two dimensional collision) การชน 2 มิติ ยังคงใช้กฎการอนุรักษ์โมเมนตัมได้

  18. **ถ้าเราให้มวล m1และ m2เท่ากันและเป็นการชนแบบยืดหยุ่นด้วยแล้วจะได้ว่ามุม มีค่าเท่ากับ 90 องศาพอดี ถ้าเป็นการชนแบบยืดหยุ่น จากรูปสามารถเขียนสมการโดยอาศัยกฎของ sine ได้ และ สามารถเขียนสมการโดยอาศัยกฎของ cosine ได้เช่นกัน

  19. Answer ปัญหาของนักฟุตบอล ฟุตบอลลูกหนึ่งมีมวล 0.40 kg เดิมฟุตบอลกำลังเคลื่อนที่ไปทางซ้ายด้วยอัตราเร็ว 20 m/s แต่ว่าลูกบอลถูกแตะทำให้มีความเร็วในทิศทำมุมขึ้น 45o และไปทางขวาด้วยอัตราเร็วขนาด 30 m/s ดังรูป จงหาการดลของแรงสุทธิขนาดและทิศทางของแรงสุทธิเฉลี่ย โดยให้สมมุติช่วงเวลาการชน นาน 0.010 s

  20. Answer ก. ข. ปัญหาที่แรงไม่คงที่ แรง F = 3t2+2t+1 กระทำกับวัตถุมวล 100 g ถ้าแรงมีหน่วยเป็นนิวตัน เวลาเป็นวินาที เมื่อ t = 0 วินาที วัตถุมีความเร็ว 100 m/s เมื่อเวลา t = 1 วินาที วัตถุจะมีความเร็วเท่าใด ถ้า ก). แรงมีทิศทางเดียวกับความเร็วต้น ข). แรงมีทิศทางตรงข้ามกับความเร็วต้น

  21. ปัญหาการกระดอนกลับของปืนยาวปัญหาการกระดอนกลับของปืนยาว นักแม่นปืนถือปืนยาวมวล mR =3 kg อย่างหลวมๆในมือของเขาในลักษณะที่ทำให้ ปืนยาวกระดอนถอยหลังได้อย่างอิสระเมื่อยิง เขายิงลูกปืนมวล mB = 5 g ไปในแนวระดับ ด้วยอัตราเร็วเทียบกับพื้น vB = 300 m/s ตามรูป ความเร็วของการกระดอน vR ของปืนมีค่า เท่าใดจงหาโมเมนตัมและพลังงานสุดท้ายของลูกปืนและของปืนยาวว่ามีค่าเท่าใด

  22. ปัญหามอเดอเรเตอร์ในเครื่องปฏิกรณ์ปัญหามอเดอเรเตอร์ในเครื่องปฏิกรณ์ นิวตรอนอัตราเร็วสูงถูกผลิตในเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์ในกระบวนการฟิชชัน ก่อนที่ นิวตรอนจะทำให้เกิดฟิชชันเพิ่มได้ เราต้องทำให้นิวตรอนเคลื่อนที่ช้าลงโดยการชนนิวเคลียสใน มอเดอเรเตอร์ของเครื่องปฏิกรณ์ ซึ่งเป็นคาร์บอน(กราไฟต์) อนุภาคนิวตรอน( m = 1.0 amu) เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.6 X 107 m/s เข้าชนแบบยืดหยุ่นแบบประสานงากับนิวเคลียสคาร์บอน ( m = 12.0 amu)ซึ่งเดิมอยู่นิ่ง แรงภายนอกขณะชนมีขนาดน้อยมาก จงหาขนาดความเร็วของ อนุภาคทั้งสองหลังการชน (1 amu = 1.66 X 10-27 kg)

  23. ปัญหาแพนดูลัมบัลลิสติกปัญหาแพนดูลัมบัลลิสติก จากรูป แสดงให้เห็นแพนดูลัมบัลลิสติก ซึ่งเป็นระบบสำหรับวัดอัตราเร็วของลูกปืน ลูกปืนมวล m ถูกยิงเข้าก้อนไม้มวล M ที่แขวนไว้เหมือนกับแพนดูลัม ลูกปืนชนและฝังในก้อนไม้ หลังจากการชนของลูกปืน ก้อนไม้แกว่งขึ้นไปสูง y อัตราเร็วของลูกปืนก่อนและหลังชนเป็นเท่าใด u = 307 m/s , v = 0.767 m/s

  24. จากรูป แสดงให้เห็นการชนแบบยืดหยุ่นของก้อนวัตถุสองชิ้นบนโต๊ะลมไร้แรงเสียดทาน จงหาอัตราเร็วสุดท้ายของก้อนวัตถุ B มุม และ ปัญหาการชนแบบยืดหยุ่นใน 2 มิติ

  25. mg mg ระบบอนุภาค วัตถุแข็งเกร็ง (Rigid body)วัตถุที่มีระยะระหว่างอนุภาคที่เป็นองประกอบคงที่ เมื่อเคลื่อนที่ ด้วยความเร่ง ตัวอย่างโครงสร้างอะตอมของของแข็ง

  26. p เรียกจุด p หรือระยะ xcmว่าจุดศูนย์กลางมวล ซึ่ง ถ้ามีอนุภาคทั้งหมดในระบบ nตัว

  27. z y x กรณีอนุภาคอยู่ในระบบพิกัดฉากxyzxcm, ycmและ zcmของจุดศูนย์กลางมวลหาได้จาก

  28. x มวล M X=0 ถ้าเป็นก้อนมวลในระบบพิกัดฉากxyz

  29. ถ้าหาอนุพันธ์เทียบกับเวลาของสมการดังกล่าว จะได้เป็น Velocity of center of mass จากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัม

  30. เรารู้ว่า เนื่องจาก ถ้า ถ้ามีอนุภาคทั้งหมดในระบบ nตัว หาอนุพันธ์ของสมการ เทียบกับเวลา จะได้เป็น

  31. จากรูปพลังงานจลน์รวมของระบบวัดเทียบกับจากรูปพลังงานจลน์รวมของระบบวัดเทียบกับ พิกัดอ้างอิง xyz เขียนได้เป็น เขียนในรูป summation และ dot product ได้เป็น ***พลังงานจลน์ของระบบอนุภาคมีค่าเท่ากับผลรวม ระหว่างพลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่ของจุดศูนย์ กลางมวล กับพลังงานจลน์ของการเคลื่อนที่ของอนุภาค ในระบบเทียบกับจุดศูนย์กลางมวล

  32. พลังงานศักย์โน้มถ่วงของระบบอนุภาคพลังงานศักย์โน้มถ่วงของระบบอนุภาค

More Related