1 / 56

หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย

หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย. หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย เพื่อของบประมาณประจำปี 2554 ตามมติคณะรัฐมนตรี. จัดโดย สถาบันพัฒนานักวิจัยแห่งประเทศไทย. 7 ตุลาคม 2552. ดร.ธรรมชัย เชาว์ปรีชา. กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ. สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย. คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี RBAC.

jalen
Download Presentation

หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัยหลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย หลักการเขียนข้อเสนอการวิจัย เพื่อของบประมาณประจำปี 2554 ตามมติคณะรัฐมนตรี จัดโดย สถาบันพัฒนานักวิจัยแห่งประเทศไทย 7 ตุลาคม 2552 ดร.ธรรมชัย เชาว์ปรีชา กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย คณบดี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี RBAC

  2. จากประสบการณ์ กรรมการสภาวิจัยแห่งชาติสาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย (2538 - ปัจจุบัน) ประเมินข้อเสนอโครงการวิจัย ตรวจติดตามโครงการวิจัยพัฒนาหลักสูตร / อบรมนักวิจัย พิจารณารางวัล

  3. จากประสบการณ์ การพัฒนาระบบบริหารงานวิจัยแห่งชาติ (NRPM)

  4. คุณค่าของสินค้าหรือบริการ จะตัดสินโดยผู้ซื้อ (ลูกค้า) ข้อเสนอโครงการวิจัยที่ดี 1 ต้องการด่วน (Urgent Needs)

  5. มุมมองของผู้ใช้ • ไม่สนใจว่าผู้ผลิตลงทุนเท่าใด • ตรงกับที่ต้องการแบบจำเป็น (NEEDs) หรือไม่ • ได้ผลในเวลาที่ต้องการหรือไม่ • มีคุณภาพเชื่อถือได้หรือไม่ • ในราคาที่คุ้มค่าที่จะจ่ายหรือไม่

  6. แข่งขัน เหนือกว่า ด้วยอะไร ? Economy of Scale ?R & D + C & D ?Economy of Speed ?Speed of Information ?

  7. แข่งขัน เหนือกว่า ด้วย Speed of Implementation !!! ความเร็ว จากจุดที่ได้คิด ได้ยิน ได้ฟังไปถึงจุดที่สามารถ นำสินค้า/บริการที่เป็นที่ต้องการอย่างยิ่งถึงลูกค้าให้พึงพอใจได้

  8. 2 จุดตาย ของข้อเสนอโครงการ

  9. 2.1 ตายน้ำตื้น • ไม่ถูกต้องตามเงื่อนไข • ส่งเอกสารไม่ครบในส่วนประกอบต่างๆ • เอกสารบางหน้าขาดหายไป • พิมพ์ผิดในส่วนที่สำคัญ • ไม่ทันกำหนดเวลา

  10. 2.2ตาย แบบไม่รู้ตัว • ไม่เข้าใจ TOR • ไม่ใช่โครงการวิจัย • ไม่เข้าใจนิยามหรือความหมาย คำสำคัญที่ใช้

  11. 2.3 ตายแบบไร้ความหมาย • ความสำคัญของปัญหา (ที่มา) ไม่ชัดเจน • ที่มาของปัญหา ไม่สัมพันธ์กับโจทย์ • โจทย์วิจัยไม่ชัดเจน • ผลที่คาดว่าจะได้รับไม่ชัดเจน • การนำไปใช้ประโยชน์ไม่ชัดเจน • การถ่ายทอดเทคโนโลยีไม่ชัดเจน

  12. 2.4ตายซ้ำตายซาก • ทำซ้ำซ้อนกับคนอื่น • ไม่ได้ทบทวนวรรณกรรมให้ดี • ทำในเรื่องที่ไม่จำเป็นต้องวิจัย • ทำซ้ำต่างแค่รายละเอียดเล็กน้อย

  13. 2.5ตายเพราะ มือไม่ถึง? • พื้นฐาน ประสบการณ์ ไม่สอดคล้องกับความยาก • ทำคนเดียว ขาดทีมงานเสริมแก้จุดอ่อน • ไม่ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ • เอกสารอ้างอิงน้อย เชยล้าสมัย มีแต่ภาษาไทย

  14. 2.6ตายเพราะไม่เข้าใจการวิจัย2.6ตายเพราะไม่เข้าใจการวิจัย • กรอบการวิจัย ตัวแปร สับสน • ระเบียบวิธีวิจัย ไม่เหมาะสม • การใช้สถิติวิจัย การสุ่มตัวอย่าง ไม่สอดคล้องกับโจทย์

  15. 2.7 ตายเพราะแผนการดำเนินงาน • แผนการดำเนินงาน ไม่สอดคล้องกับเงื่อนเวลา • แผนการดำเนินงานเป็นแบบหยาบ ไม่ชัดเจน • แผนการดำเนินงานมีขั้นตอนที่ไม่เหมาะสม • ไม่มีคำอธิบายประกอบแผนการดำเนินงานให้เข้าใจ

  16. 2.8ตายเพราะเงิน • จัดทำรายการที่ใม่จำเป็น มาเป็นค่าใช้จ่าย • ไม่มีคำอธิบายประกอบให้เข้าใจ • มีการจัดซื้อครุภัณฑ์สำนักงาน เช่น PC เครื่องพิมพ์ • ค่าใช้จ่ายที่ไม่ใช่เรื่องหลัก สูงมาก • ค่าใช้จ่ายโดยรวม สูงเกินไป

  17. เจ้าของเงินอนุมัติได้ง่ายเจ้าของเงินอนุมัติได้ง่าย นโยบายเศรษฐกิจฯ ยุทธศาสตร์วิจัย มีหลังอิงเชิงนโยบาย 5 ธันวาคม นโยบายรัฐบาล 12 สิงหาคม งานวิจัยเป็นที่ต้องการ 3

  18. Needs – Demand Side Conceptual framework • Needed Problem • Promising • Integrated • Up-to-date • Well-organized • Ethics Prioity • Economic &Social • R & D • National agenda • Gov Policy • Important Issues R problem R process R output/outcome Capability – Supply side งานวิจัยเป็นที่ต้องการ

  19. ความต้องการของผู้ใช้ผลงานวิจัยความต้องการของผู้ใช้ผลงานวิจัย กรอบแนวคิด การวิจัย • เป็นโจทย์ที่ต้องการ • แนวคิดที่น่าจะได้ผล • บูรณาการความคิด • ทันเหตุการณ์ • จัดองค์ประกอบดี • มีจริยธรรม สำคัญเร่งด่วน • แผนสภาพัฒน์ฯ • นโยบายยุทธศาสตร์การวิจัย วช. • วาระเร่งด่วนแห่งชาติ • นโยบายรัฐบาล • ประเด็นที่สำคัญ โจทย์วิจัย กระบวนการวิจัย ผลที่ได้จากการวิจัย ขีดความสามารถของคณะผู้วิจัย งานวิจัยเป็นที่ต้องการ

  20. วัฏจักรการทำวิจัย Policy Needs Research Cycle Research Stakeholders Proposal

  21. นักวิจัย ด้านการวิชาการ: • พื้นฐานการศึกษา • ประสบการณ์ • ผลงานที่เกี่ยวข้อง • ทีมงานสนับสนุน • ความพร้อมในการทำวิจัย ด้านการวิจัย: • รู้วิธีการทำวิจัย • ทบทวนวรรณกรรมดี • มีประสบการณ์การวิจัย • มีทีม ผู้รู้ เทคนิควิจัย พื้นฐานของ ผู้ขอทุนวิจัย

  22. มีความสนใจ ใส่ใจ มีข้อมูล 1 อยู่ใน domain ด้านนั้น 2 มีทีมงาน เครือข่ายสนับสนุน จัดทำและทบทวน Concept Paper 3 5 ตรวจสอบเงื่อนไขทุน TOR พัฒนา ปรับปรุง ตรวจสอบก่อนส่ง 4 6 แนวคิด การจัดทำข้อเสนอโครงการขอรับทุน

  23. 4

  24. Key1 : ข้อเสนอเป็นที่ต้องการ ที่มา วิจัย ความสำคัญของปัญหาชัดเจน อ้างอิงได้

  25. Key2 : ข้อเสนอนำไปสู่การใช้ประโยชน์ได้จริง วิจัย ที่ไป การใช้ประโยชน์ชัดเจน ระบุผู้ใช้ประโยชน์ที่เกี่ยวข้อง

  26. Key3 : ข้อเสนอที่ทำได้ ทำได้ วิจัย (คณะ)ผู้วิจัย มีความพร้อม งบประมาณเหมาะสม

  27. Key4 : ข้อเสนอที่เหมาะสมด้านวิชาการ วิจัย วิชาการ OK ทฤษฎี แนวคิด วิชาการ และกรอบการวิจัย เหมาะสม

  28. Keys : ข้อเสนอที่โดนใจ ทำได้ วิจัย ที่ไป ที่มา วิชาการ OK เป็นที่ต้องการ ประโยชน์ชัดเจน ทำได้ น่าเชื่อถือ

  29. Key1 : ข้อเสนอเป็นที่ต้องการ ที่มา ข้อเสนอ นโยบายวิจัย : ต้องการ ประเทศต้องการ (แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม) - นโยบายวิจัย เรื่องเร่งด่วน (วช.) - นโยบายรัฐบาล หัวข้อที่จะทำ สำคัญ ยังไม่มีใครทำ ความสำคัญของปัญหาชัดเจน อ้างอิงได้

  30. Key2 : ข้อเสนอนำไปสู่การใช้ประโยชน์ได้จริง ที่ไป ข้อเสนอ แผนการนำไปใช้ประโยชน์ ประโยชน์ (ระบุชัดเจน ผู้รับ ผู้ใช้) • การถ่ายทอด เทคโนโลยี • หน่วยงาน ที่จะนำไปใช้ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เป็นรูปธรรม ความชัดเจน ของประโยชน์ที่จะได้รับ ทันที และภายหลัง

  31. Key3 : ข้อเสนอที่ทำได้ ราคาเหมาะสม (งบประมาณโดยรวม) ทำได้ ทำได้ สำเร็จ ความพร้อมของคณะวิจัย • หน่วยงานหลัก • หน่วยสนับสนุน ข้อเสนอ ความสามารถ ประสบการณ์ พร้อม ในราคาที่พอสมควร

  32. Key4 : ข้อเสนอที่เหมาะสมด้านวิชาการ ข้อเสนอ วิชาการ OK ด้านการวิจัย • กรอบการวิจัย มีคุณภาพ ทฤษฎี แนวคิด เป็นไปได้ ด้านวิชาการสาขาที่เกี่ยวข้อง และการวิจัย เหมาะสม

  33. Keys : ข้อเสนอการวิจัยที่โดนใจ ชื่อเรื่องสื่อความหมาย (ไทย English ตรงกัน) การทบทวนวรรณกรรมดี เป็นระบบ นำไปสู่กรอบการวิจัยที่ชัดเจน ระเบียบวิธีวิจัย แผนการดำเนินงาน แผนการใช้เงิน เป็นไปได้ เหมาะสม Priority ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้ใช้ ชัดเจน ตัวชี้วัด เป็นรูปธรรม ทั้งเชิงปริมาณ และคุณภาพ

  34. ความสำคัญที่มาของปัญหาความสำคัญที่มาของปัญหา 1 โจทย์การวิจัย 2 ผู้เกี่ยวข้องกับการวิจัย ใช้ประโยชน์ 3 5 4 6 ประเด็นบรรยายประกอบ การทบทวนวรรณกรรม แผนการดำเนินงาน แผนงบประมาณ การใช้ประโยชน์ แผนถ่ายทอดเทคโนโลยี

  35. 4 “3 อ่าน”ข้อเสนอก่อนส่งค่ะ

  36. อ่าน กลุ่มที่ 1“รู้เรื่องหรือไม่” 1.1 นักเรียนมัธยม/นักศึกษา เป็นผู้อ่าน ภาษา คำพูด ข้อความ อ่านเข้าใจได้ง่าย รู้เรื่อง ?

  37. อ่าน กลุ่มที่ 1“รู้เรื่องหรือไม่” 1.2 กลุ่มเป้าหมาย ผู้ใช้ประโยชน์งานวิจัย ผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี นำผลงานไปใช้ อ่านเข้าใจว่าเกี่ยวกับอะไร นำไปใช้ประโยชน์อะไรบ้าง อย่างไร

  38. อ่าน กลุ่มที่ 1“รู้เรื่องหรือไม่” 1.3 ผู้ให้ทุนวิจัย เจ้าของเงิน อ่านแล้วเข้าใจว่า ความสำคัญของปัญหา โจทย์วิจัยชัดเจน เป็นที่ต้องการหรือไม่ น่าจะคุ้มทุนหรือไม่

  39. อ่าน กลุ่มที่ 2“เป็นไปได้หรือไม่” 2.1 ด้านสาขาวิชาการที่ทำวิจัย แนวคิด ทฤษฏี หลักการ ถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้ ?

  40. อ่าน กลุ่มที่ 2“เป็นไปได้หรือไม่” 2.2 ด้านการวิจัย ระเบียบวิธีวิจัย เครื่องมือในการวิจัย เหมาะสมหรือไม่ ?

  41. อ่าน กลุ่มที่ 2“เป็นไปได้หรือไม่” 2.3 เหมาะสมกับสถานการณ์ ความซ้ำซ้อน แนวโน้ม ถาม GURU ที่ทำงานด้านนี้ ทำให้ทราบว่าภาพรวมเป็นอย่างไร ใครกำลังทำอะไร?

  42. อ่าน กลุ่มที่ 3“น่าอ่านหรือไม่” 3.1 ผู้ที่รู้ด้านภาษา การใช้ศัพท์ การทับศัพท์ ตรวจการพิมพ์ เว้นวรรค การอ้างอิง

  43. อ่าน กลุ่มที่ 3“น่าอ่านหรือไม่” 3.2 ผู้ที่มีความละเอียดด้านตัวเลข ตรวจสอบงบประมาณ ตาราง

  44. อ่าน กลุ่มที่ 3“น่าอ่านหรือไม่” 3.3 ผู้ที่มีความถนัดด้านการนำเสนอ ให้น่าอ่าน น่าสนใจ การเน้นคำ ความสอดคล้องกัน การใส่ภาพประกอบ เลขหน้า การจัดสารบัญ ฯลฯ

  45. พร้อมวิจัย-ใจสู้–รู้ฉับไวด้วย IT

  46. 5 ทำตนให้พร้อม ทำให้เป็นสนามของตน 8 ลักษณะนิสัยของนักวิจัย

  47. 1. Active : Wake up! Be Ready! ตื่นตัว เตรียมพร้อม มี stock ของเรื่องที่สำคัญ และสนใจ ติดตาม เก็บรวบรวมข้อมูลไว้ หลายๆ เรื่อง “หัดทำเรื่องที่สำคัญ แต่ไม่ด่วนก่อน”

  48. 2. Go Inter(net) ใช้ internet ในการสืบค้นเพื่อการทำวิจัย ค้น text books ค้นวารสาร ผลงานวิจัย

  49. 3. Think Digital, Do Digital : Armed with ICT ใช้ ICT ในการติดต่อสื่อสาร e-mail ใช้เครื่องทุ่นแรงเป็น แปลภาษาได้ สัมผัสได้ (การพิมพ์)

More Related