1 / 36

(ร่าง) แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างกรมสุขภาพจิต

(ร่าง) แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างกรมสุขภาพจิต กับ หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 255 4. มติจากการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 20 ตุลาคม 255 3 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 2 กรมสุขภาพจิต.

Download Presentation

(ร่าง) แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างกรมสุขภาพจิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. (ร่าง) แนวทางการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างกรมสุขภาพจิต กับ หน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ปีงบประมาณ 2554 มติจากการประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินผลการปฏิบัติราชการกรมสุขภาพจิต ครั้งที่ 2/2553 วันที่ 20 ตุลาคม 2553 ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 2 กรมสุขภาพจิต

  2. ประเด็นนำเสนอ 2

  3. 1. รูปแบบการดำเนินงานจัดทำคำรับรองฯ ปี 2554 3

  4. 1. รูปแบบการดำเนินงานฯ 4

  5. 2. กรอบที่มาของตัวชี้วัดสำหรับจัดทำคำรับรองฯ ปี 2554 ตัวชี้วัดในมิติที่ 1 ประสิทธิผลมาจาก 6 ส่วน คือ 5

  6. 2. กรอบที่มาของตัวชี้วัดฯ (ต่อ) 6

  7. 2. กรอบที่มาของตัวชี้วัดฯ (ต่อ) ตัวชี้วัดในมิติที่ 2 คุณภาพการให้บริการ / มิติที่ 3 ประสิทธิภาพ / มิติที่ 4 การพัฒนาองค์กร • ใช้ข้อมูลจากกรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการของ ส่วนราชการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ของสำนักงาน ก.พ.ร. 7

  8. 3. ตัวชี้วัดสำหรับการจัดทำคำรับรองฯ ปี 2554 * คาดว่าจะเป็นตัวชี้วัดที่ร่วมส่งผลงานในคำรับรองฯ ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 8

  9. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 * คาดว่าจะเป็นตัวชี้วัดที่ร่วมส่งผลงานในคำรับรองฯ ระดับกระทรวง / กลุ่มภารกิจ ** คาดว่าจะเป็นตัวชี้วัดคำรับรองฯ ระดับกรมฯ 9

  10. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 ** คาดว่าจะเป็นตัวชี้วัดคำรับรองฯ ระดับกรมฯ 10 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม

  11. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 11 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม

  12. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 12

  13. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 13

  14. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 14

  15. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 15

  16. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 16

  17. 3. ตัวชี้วัด ปี 2554 รายละเอียดของตัวชี้วัดฯ ปรากฏตามเอกสารแนบ 1 newเป็นตัวชี้วัดที่กำหนดเพิ่มขึ้น หรือ บูรณาการขึ้นใหม่จากตัวชี้วัดเดิม 17

  18. 4. นิยามศัพท์ที่ปรากฏในตารางตัวชี้วัดคำรับรองฯ 18

  19. 4. นิยามศัพท์ฯ (ต่อ) 19

  20. 5. ขอบเขตของหน่วยงานที่จัดทำคำรับรองฯ กับกรมฯ • ภายใต้ตัวชี้วัด “ระดับคะแนนเฉลี่ยของผลการประเมินการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ภายใต้การกำกับดูแล” 20

  21. 5. ขอบเขตการจัดทำคำรับรองฯ ยกเว้น • กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กลุ่มที่ปรึกษา รับการประเมินทั้ง 4 มิติ ดังนี้ • มิติประสิทธิผล- ประเมินตามตัวชี้วัดที่สอดคล้องกับภารกิจหน่วยงาน ไม่ว่าจะมีจำนวนตัวชี้วัดเท่าใดก็ตาม • มิติคุณภาพ / ประสิทธิภาพ / พัฒนาองค์กร- เลือกจากกรอบตัวชี้วัด มิติละอย่างน้อย2 ตัว โดยให้ทั้ง 3 หน่วยงานเลือกตัวชี้วัดที่จะช่วยเสริมงานของกรมฯ ให้สำเร็จ 21

  22. 6. หลักเกณฑ์การกำหนดค่าเป้าหมาย และเกณฑ์การให้คะแนน • ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดในคำรับรองฯ กำหนดจากค่าเป้าหมายตาม คำรับรองฯ ระดับกระทรวง / ระดับกลุ่มภารกิจ / ระดับกรม / แผนยุทธศาสตร์ / แผนปฏิบัติการกรมฯ หรือจากผลการปฏิบัติงานในปีก่อน • โดยทั่วไปแล้ว จะระบุค่าเป้าหมายนั้นๆ อยู่ในระดับคะแนน 3 ยกเว้น ตัวชี้วัดที่เป็นการดำเนินงานเชิงพื้นที่ให้ระบุค่าเป้าหมายไว้ที่ระดับคะแนน 5 เนื่องจากเป็นการดำเนินงานที่มีพื้นที่ชัดเจน และไม่อาจขยายเพิ่มเป้าหมายมากเกินกว่าที่กำหนดไว้ 2) ตัวชี้วัดที่มีเป้าหมายการดำเนินงานเป็นร้อยละ 100อยู่แล้ว ให้ระบุค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 100) ไว้ที่ ระดับคะแนน 5 3) ตัวชี้วัดที่วัดเป็นความสำเร็จของขั้นตอนการดำเนินงานให้ระบุ ค่าเป้าหมายระดับความสำเร็จขั้นที่ 5 ไว้ที่ระดับคะแนน 5 22

  23. 7.หลักเกณฑ์การกระจายค่าน้ำหนักคะแนนแก่ตัวชี้วัด7.หลักเกณฑ์การกระจายค่าน้ำหนักคะแนนแก่ตัวชี้วัด • การให้ค่าน้ำหนักคะแนนแก่มิติต่างๆ ในภาพรวม * *เหมือนปี 2553 23

  24. การให้ค่าน้ำหนักคะแนนแก่กลุ่มตัวชี้วัดในแต่ละมิติ มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล(น้ำหนักคะแนน 50 คะแนน) หมายเหตุหากน้ำหนักคะแนนที่กระจายให้ตัวชี้วัดในแต่ละกลุ่มหารไม่ลงตัว จะพิจารณาให้น้ำหนักแก่ตัวชี้วัด ดังนี้ 1. ให้น้ำหนักตัวชี้วัดคำรับรองกรมฯ มากกว่า ตัวชี้วัดจากยุทธศาสตร์กรมฯ 2. ให้น้ำหนักตัวชี้วัดแผนปฏิบัติการกรมฯ มากกว่า ตัวชี้วัดภารกิจของหน่วยงาน 24

  25. มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการให้บริการ ( น้ำหนักคะแนน 15คะแนน ) 25

  26. มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพ (น้ำหนักคะแนน 15 คะแนน) 26

  27. มิติที่ 4 ด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนักคะแนน 20คะแนน) 27

  28. 8. สรุปจำนวนตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมสุขภาพจิต ประจำปีงบประมาณ 2554 2 ปีที่ผ่านมา 28

  29. 7. สรุปจำนวนตัวชี้วัดฯ ปี 2554 * กพร. / กลุ่มที่ปรึกษา / กลุ่มตรวจสอบฯ ได้รับตัวชี้วัดมิติที่ 2-4 มิติละ 2 ตัว 29

  30. 9. แนวทางการบริหารตัวชี้วัดและติดตามประเมินผล ประเภทตัวชี้วัดตามคำรับรองหน่วยงาน ฯ ดำเนินการ / รับการประเมิน ตรวจ/ประเมิน จัดทำ Template / บริหารตัวชี้วัด ติดตาม / สรุปผลงานเบื้องต้น รวบรวม ผลงาน หน่วย PM (ภาพรวม) หน่วย PM หน่วย PM  หน่วยย่อย (หน่วยร่วม) คณะ ทำงานฯ ชุดที่ 3 หน่วยงาน ที่ได้รับมอบหมาย หน่วยงานกลาง หน่วยงานกลาง  ก.พ.ร หน่วยงาน เจ้าของตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าของตัวชี้วัด หน่วยงานเจ้าของตัวชี้วัด  30

  31. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กรณีที่เป็นตัวชี้วัดแบบ Joint PM : ให้หน่วยงานที่มีเครื่องหมายขีดเส้นใต้เป็นหน่วย PM หลัก ในการจัดทำ Template บริหารตัวชี้วัด และจัดทำรายงานผล การดำเนินงานส่งให้ ก.พ.ร. 31

  32. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • กรณีที่เป็นตัวชี้วัดแบบ Joint KPI : ให้หน่วยงานที่มีเครื่องหมายขีดเส้นใต้เป็น หน่วยรับการประเมินหลักในการจัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ให้หน่วย PM 32

  33. บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 33

  34. ปฏิทินการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2554 (หากเกินกำหนดส่ง จะมีการหักคะแนน วันละ 0.05 คะแนน) 34

  35. ปฏิทินการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2554 35

  36. ปฏิทินการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปี 2554 (หากเกินกำหนดส่ง จะมีการหักคะแนน วันละ 0.05 คะแนน) 36

More Related