1 / 5

ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย

ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย. 1. ทำเล ที่ตั้งและขนาด มีพื้นที่เชื่อมต่อกับทวีปยุโรป (เรียกว่า ยูเร เชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรปเอเชียเข้าด้วยกัน โดยมี เทือกเขายู ราล เป็นเขตแบ่งระหว่างทวีป ยุโรปกับ เอเชีย). 2. อาณา เ ขต

jaguar
Download Presentation

ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย

  2. 1. ทำเลที่ตั้งและขนาด มีพื้นที่เชื่อมต่อกับทวีปยุโรป (เรียกว่า ยูเรเชีย เป็นมหาทวีปที่รวมเอาทวีปยุโรปเอเชียเข้าด้วยกันโดยมีเทือกเขายูราลเป็นเขตแบ่งระหว่างทวีปยุโรปกับเอเชีย) 2. อาณาเขต - ทิศเหนือ จดมหาสมุทรอาร์กติก มีแหลมเชลยูสกิน ของรัสเซีย อยู่เหนือสุด ละติจูด 77 องศา 45 ลิปดาเหนือ - ทิศใต้ จดมหาสมุทรอินเดีย มีเกาะรอติของอินโดนีเซีย เกาะติมอร์อยู่ใต้สุดที่ละติจูด 11 องศาใต้ - ทิศตะวันออก จดมหาสุมทรแปซิฟิก แหลมเดจนอวาหรือ แหลมอีสต์ของรัสเซีย ลองติจูด169 องศา – 40 ลิปดา E - ทิศตะวันตก จดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แหลมบาบาของตุรกี ที่ลองตะจูด26 องศา พื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ซีกโลกเหนือ จะมีเฉพาะประเทศอินโดนีเซีย ติมอร์ –เลสเต ที่อยู่ขั้วโลกใต้ ลักษณะทั่วไปของทวีปเอเชีย

  3. 3. เขตที่ราบสูงตอนใต้ ประกอบด้วย ที่ราบสูงเดคคาน ในคาบสมุทร อินเดีย มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น และที่ราบสูงอาหรับ ใน คาบสมุทรอาหรับ มีลักษณะอากาศแบบร้อนและแห้งแล้งจึงปรากฏ ลักษณะภูมิประเทศแบบทะเลทรายหลายแห่ง เช่น ทะเลทรายซีเรีย ทะเลทรายรุบอัลคาลี เป็นต้น ลักษณะภูมิประเทศ 4. เขตที่ราบลุ่มแม่น้ำ เช่น ที่ราบลุ่มแม่น้ำหวางเหอ (แม่น้ำเหลือง) แยงซีเกียง (แม่น้ำฉางเจียง) และแยงซีเจียง ในภูมิภาคตะวันออก ที่ราบลุ่มแม่น้ำแดง แม่น้ำโขง แม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำอิรวดี ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคา แม่น้ำสินธุ และแม่น้ำพรหมบุตร ในภูมิภาคเอเชียใต้ ที่ราบลุ่มแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรทีส ในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ อยู่ในเขตแห้งแล้ง จึงเสมือนแหล่ง โอเอซิส คือ บริเวณชุ่มชื้นแถบทะเลทรายที่มีน้ำมากพอให้พืช สัตว์ และมนุษย์อาศัยอยู่ได้ในบางแห่งน้อาจจะอยู่ลึกลงไปต้องสูบขึ้นมา

  4. 1. ที่ราบลุ่มทางภาคเหนือ เขตแองการาชิลด์ ในที่ราบไซบีเรียเกิดจาก • การทับถมของดินตะกอนที่แม่น้ำออบ แม่น้ำเยนีเซย์พัดพามาลงสู่มหาสมุทรอาร์กติก แต่ไม่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจ มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง อากาศหนาวเย็น เป็นน้ำแข็งเกือบตลอดปี • 2. เขตเทือกเขาและที่ราบสูงตอนกลาง เทือกเขาสูงจะทอดตัวจากจุดรวมเทือกเขาตอนกลาง ที่เรียกว่า ชุมเขาปามีร์ จะไปยังทิศทางต่างๆ ดังนี้ • ทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ เช่น เทือเขาฮินดูกูช เทือกเขาสุไลมาน เทือกเขาซากรอส และเทือกเขาคอเคซัส เป็นต้น • ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น เทือกเขาเทียนชาน เทือกเขาอัลไต • ทิศตะวันออก เช่น เทือกเขาคาราโครัม เทือกเขาคุนลุน เป็นต้น • - ทิศตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เทือกเขาหิมาลัย ซึ่งมียอดเขาเอเวอร์เรสต์ที่สุดในโลก ลักษณะภูมิประเทศ

  5. 5. เขตหมู่เกาะภูเขาไฟ อยู่ทางด้านดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และเอเชียตะวันออกมีลักษณะเป็นหมู่เกาะอย่างชัดเจน ในดินแดนของประเทศอินเดีย (หมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์) อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ไต้หวัน และญี่ปุ่น เป็นหินเปลือกโลกที่มีอายุน้อยหรือหินใหม่ จึงเกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟปะทุ เรียกว่า วงแหวนไฟแปซิฟิก (เป็นบริเวณแนวขอบแผ่นดินไหวและภูเขาไฟในมหาสมุทแปซิฟิก ได้แก่ บริเวณประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ เป็นต้น)และเกิดแผ่นดินไหวและเกิดสึนามิครั้งสำคัญ พ.ศ. 2547 ซึ่งเกิดคลื่นยักษ์ คือ ประเทศอินโดนีเซีย มาเลเซีย ไทย สหภาพพม่า บังกลาเทศ อินเดย ศรีลังกา มัลดีฟส์ ลักษณะภูมิประเทศทวีปเอเชีย

More Related