1 / 26

Quality Seamless Care Team for Stroke Patient

Quality Seamless Care Team for Stroke Patient. สุภาพันรัตน์ คำหอม Stroke unit โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. การดูแลรักษาผู้ป่วย stroke โดยทีมสุขภาพ. การดูแลรักษา บุคลากรหลายฝ่ายทำงานร่วมกันและ สอดคล้องในทิศทางเดียวกัน. ทีมดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย Stroke. สหสาขาวิชาชีพ.

jaegar
Download Presentation

Quality Seamless Care Team for Stroke Patient

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Quality Seamless Care Teamfor Stroke Patient สุภาพันรัตน์ คำหอม Stroke unitโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

  2. การดูแลรักษาผู้ป่วย strokeโดยทีมสุขภาพ การดูแลรักษา บุคลากรหลายฝ่ายทำงานร่วมกันและ สอดคล้องในทิศทางเดียวกัน

  3. ทีมดูแลรักษาพยาบาลผู้ป่วย Stroke สหสาขาวิชาชีพ ญาติ/ผู้ดูแล อาสากาชาด พยาบาล ผู้ป่วย นักโภชนากร นักสังคมสงเคราะห์ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู/ นักกายภาพ จิตแพทย์ แพทย์ ประสาทวิทยา STOKE UNIT รพ. จุฬาลงกรณ์

  4. พยาบาล The role of nurses in nursing care The role of nurses in promoting quality of life The role of nurses inprevention The role of nurses inbest practice The role of nurses inresearch

  5. การให้การดูแล (The role of nurses in nursing care) การดูแลที่จะทำให้เกิดผลลัพธ์ทางการพยาบาลที่มีคุณภาพ ประกอบไปด้วย - Early Assessment - Early Detection - Early Treatment / Intervention

  6. Early Assessment • การซักประวัติ • การตรวจร่างกาย • การประเมินสัญญาณชีพ • การตรวจทางระบบประสาท • (GCS,NIHSS)

  7. ผลที่คาดหวัง เป้าหมาย วัตถุประสงค์ ผู้ป่วยได้รับการดูแลรักษาพยาบาลที่สอดคล้อง กับปัญหา ผู้ป่วยปลอดภัยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน ผู้ป่วยได้รับการฟื้นฟูสภาพ ผู้ป่วยสามารถ Self careได้ ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

  8. การเป็นผู้ส่งเสริมสุขภาพการเป็นผู้ส่งเสริมสุขภาพ (The role of nurses in promoting quality of life)  การดูแลระยะยาว การวางแผนการจำหน่าย การให้ดูแลและการฟื้นฟู การให้Health education การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) การประสานงานระหว่างโรงพยาบาลกับ ชุมชน การเป็นที่ปรึกษาเพื่อส่งต่อในเรื่องการ ดูแลและการฟื้นฟู

  9. การดูแลผู้ป่วยระยะยาวการดูแลผู้ป่วยระยะยาว 1.การวางแผนการจำหน่าย 1.1 แจ้งให้ญาติทราบ เพื่อเตรียมผู้ดูแล และสถานที่บ้านดูแลผู้ป่วย 1.2 การให้Health Education 1.2.1 การป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยง ( HT, DM, Dyslipidemia, Heart disease, Smoking, Alcohol) ได้แก่ - การควบคุมอาหาร - ตรวจเลือดดูระดับไขมัน น้ำตาล และอื่นๆ - งดสูบบุหรี่/ หลีกเลี่ยงดื่มเหล้า - การออกกำลังกาย - การผ่อนคลายความเครียด

  10. การดูแลผู้ป่วยระยะยาวการดูแลผู้ป่วยระยะยาว 1.2.2 การรับประทานยา ได้แก่ยากลุ่มantiplatelat (aspirin), Anticoagulant(caumadin)และยาลดไขมันกลุ่มStatinเพื่อป้องกันการกลับเป็นโรคซ้ำ 1.3 กายภาพบำบัด เป็นสิ่งสำคัญมาก ควรทำตั้งแต่ระยะแรกที่เกิดอาการ (ถ้าไม่มีข้อห้าม) ได้แก่ - Passive Exercise, Active Exercise - Occupational Therapy, Speech Therapy ตึกธก.3

  11. การป้องกันโรค (The role of nurses inprevention) primary prevention ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนไม่ได้อายุ, เพศ, พันธุกรรม ปัจจัยเสี่ยงที่ปรับเปลี่ยนได้ * ปัจจัยเสี่ยงหลัก ได้แก่HT, DM, Dyslipidemia, Heart diseaseเช่น AF RHD, Smoking และประวัติเคยเป็นหลอดเลือดสมอง * ปัจจัยเสี่ยงรอง ได้แก่ โรคอ้วน ขาดการออกกำลังกาย รับประทานไม่เหมาะสม การดื่มสุรา และการใช้ยาเสพติด ยาบ้า ยาคุมกำเนิด

  12. การป้องกันโรค (The role of nurses inprevention) secondaryprevention พยาบาลควรใช้โอกาสที่ได้จากการประเมินความเสี่ยงของผู้ป่วยขณะที่อยู่โรงพยาบาล เพื่อหาทางป้องกันการกลับเป็นซ้ำ - มีการให้ข้อมูล - การส่งเสริมเกี่ยวกับภาวะสุขภาพ - การเตรียมแหล่งสนับสนุน - การเฝ้าติดตามเพื่อการป้องกันอย่างใกล้ชิด

  13. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลที่เป็นเลิศ (The role of nurses inbest practice) นำองค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย และนำมาเป็น หลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-based practice)

  14. การค้นหาความเสี่ยง • ไม่สามารถประเมินอาการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท ได้ทันท่วงที • เกิดภาวะ Bleeding ของอวัยวะต่างๆในผู้ป่วย stroke ที่ได้รับยา • thrombolytic agent • เกิดภาวะแทรกซ้อนได้แก่ UTI, VAP, Pressure sore • เกิด Status Epilepticusขณะ on VEM24 ชม. • Medication Error •  Fall • Pressure Ulcer วิเคราะห์จุดบกพร่องและผลกระทบ(FMEA): Adverse drug reactionในยาHigh alert drug (warfarin)

  15. แนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองแนวปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 1. แบบประเมินการกลืน Standardized Swallowing Assessment (SSA) LIN PERRY. (2001) 2. แบบประเมินภาวะแทรกซ้อน/อาการข้างเคียง rt-PA 3. แนวปฏิบัติเพื่อควบคุมอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยไม่ให้เกิน 37 องศาเซลเซียส (American stroke Association, 2003) 4.สร้างแนวปฏิบัติและจัดทำคู่มือสำหรับผู้ป่วยstrokeที่ ได้รับยา warfarinชนิดเม็ด (Clinical Practice Guideline For Ischemic Stroke,2007)

  16. คู่มือปฏิบัติงาน • Care Map การดูแลผู้ป่วย Stroke, Stroke fast track, Epilepsy • แบบฟอร์ม Risk alert • คู่มือการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการติดเชื้อ • แนวทางการจัดท่าผู้ป่วยที่มีแขนขาอ่อนแรง • เกณฑ์การป้องกันการพลัดตกหกล้ม • แนวทางการให้ยา High Alert Drug • แบบบันทึกภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยา Warfarin • มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย Stroke ที่มีภาวะกลืนลำบาก • คู่มือการให้ความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดสมองตีบ • เกณฑ์การปฏิบัติการดูแลผู้ป่วยโรคลมชักขณะ on VEM 24 ชม. ในEMU • แนวทางปฏิบัติการควบคุมอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยทางระบบประสาท

  17. เครื่องชี้วัด

  18. เครื่องชี้วัด

  19. การเป็นผู้วิจัย (The role of nurses inresearch) การทำวิจัยพยาบาลสามารถทำได้จากการพัฒนางานประจำให้เป็นงานวิจัย (Routine to Research)

  20. การเป็นผู้วิจัย (The role of nurses inresearch) วิจัยคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 1. ศึกษาคุณภาพชีวิตภายหลังการจำหน่าย จาก ร.พ.ของกลุ่มที่เข้าโครงการ HHC และไม่เข้า HHC 2. ศึกษาความรู้และพฤติกรรมการดูแล ตนเองภายหลังการจำหน่ายจาก ร.พ.ของ กลุ่มที่เข้าโครงการ HHCและไม่เข้า HHC

  21. วิจัยการศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกายกับกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกายวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองกลุ่มที่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกายกับกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย

  22. โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา โครงการพัฒนาคุณภาพ เรื่องการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย stroke fast track ด้วย care map โครงการพัฒนาคุณภาพ เรื่อง สร้างแบบประเมินการกลืน และศึกษาผลการใช้แบบประเมินการกลืน ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบที่มีภาวะกลืนลำบาก โครงการพัฒนาคุณภาพ เรื่องการให้ความรู้เรื่องปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ

  23. โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา โครงการวิจัยเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผู้ป่วย stroke ที่ได้รับการเยี่ยมบ้าน และไม่ได้รับการเยี่ยมบ้าน โครงการเพิ่มความรู้ความสามารถในการ Early assessmentผู้ป่วย stroke

  24. โครงการ/กิจกรรมการพัฒนาโครงการ/กิจกรรมการพัฒนา โครงการ การสร้างแนวทางปฏิบัติเพื่อควบคุมอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วย Acute Stroke ให้ไม่เกิน 37 oC • โครงการวิจัยการศึกษาเปรียบเทียบอุณหภูมิร่างกายผู้ป่วยโรคหลอดเลือด สมองกลุ่มที่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกายโดยการใช้Acetaminophens ร่วมกับการเช็ดตัวกับกลุ่มผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการควบคุมอุณหภูมิร่างกาย • โครงการสร้างคู่มือการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ได้รับประทานยาWarfarin ชนิดเม็ด และสร้างแบบบันทึกภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาWarfarin

  25. บทสรุป • ปัจจุบันการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ทีมสหสาขาวิชาชีพเป็นหัวใจส่วนหนึ่งที่เป็นมาตรฐานการดูแล ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองจำเป็นต้องอาศัยบุคลากรทางการแพทย์ที่มีทักษะเฉพาะ หลายๆฝ่ายมาร่วมกันทำงานอย่างต่อเนื่อง เพราะการดูแลรักษาตามปกติไม่สามารถครอบคลุมปัญหาทุกด้านของผู้ป่วยได้ • รูปแบบการดูแลรักษาผู้ป่วยควรมีลักษณะบูรณาการ เริ่มจากบุคลากรทางการแพทย์เป็นแกนหลักในการประสานความร่วมมือ การเรียนรู้ร่วมกัน การลดอคติและฐิติทั้งหลาย ก้าวข้ามความแตกต่างของวิชาชีพ

  26. ทีมการดูแล THANG YOU

More Related