1 / 68

สามจังหวัดชายแดนใต้ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

สามจังหวัดชายแดนใต้ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม. มัสยิดกลางประจำจังหวัดยะลา. วัดคูหาภิมุข. การเกิด เริ่มแรกคลอดหลังจากทำความสะอาดเด็กแล้ว บิดาหรือผู้มีความรู้ทางศาสนาจะกล่าว อาซานและกอมัต.

jada
Download Presentation

สามจังหวัดชายแดนใต้ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สามจังหวัดชายแดนใต้ ยะลา ปัตตานี นราธิวาส เป็นจังหวัดที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม

  2. มัสยิดกลางประจำจังหวัดยะลามัสยิดกลางประจำจังหวัดยะลา

  3. วัดคูหาภิมุข

  4. การเกิด เริ่มแรกคลอดหลังจากทำความสะอาดเด็กแล้ว บิดาหรือผู้มีความรู้ทางศาสนาจะกล่าว อาซานและกอมัต

  5. การโกนผมไฟ ตั้งชื่อ และการเชือดสัตว์ เมื่อทารกอายุได้ 7 วัน

  6. เด็กผู้ชายเมื่ออายุประมาณเด็กผู้ชายเมื่ออายุประมาณ 8-12 ปี ผู้ปกครองจะทำพิธีเข้าสุนัต คือการขลิบปลาย หนังอวัยวะเพศออก เพื่อให้สะดวกในการทำความ สะอาด

  7. การแต่งกายของผู้หญิง

  8. เมื่อพบกัน หรือจากกันจะกล่าวสลามหรือคำทักทายแก่กัน ชาวมุสลิมจะใช้การสัมผัสมือทั้งสองด้วยกัน ระหว่างชายกับชาย หญิงกับหญิง ห้ามระหว่างชายกับหญิง

  9. เมื่อพบกัน หรือจากกันจะกล่าวสลามหรือคำทักทายแก่ก้น ชาวมุสลิมจะใช้การสัมผัสมือทั้งสองด้วยกัน ระหว่างชายกับชาย หญิงกับหญิง ห้ามระหว่างชายกับหญิง

  10. การสมรสหมายถึง ชายและหญิงได้ ผูกนิติสัมพันธ์เพื่ออยู่ร่วมกันเป็น สามีภรรยาโดยถูกต้องตาม พิธีการนิกะห์

  11. ซีละ เป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของชาวไทยมุสลิมใน 3 จังหวัดภาคใต้

  12. ลิเกฮูลู เป็นการละเล่นขึ้นบทเป็นเพลงประกอบดนตรี และจังหวะปรบมือ

  13. ลิเก คือการอ่านทำนองเสนาะ เกหมายถึง การขับบทกลอนเป็นทำนองเสนาะ บทกลอนที่ใช้ขับเรียกว่า ปันตน

  14. จะเห็นได้ว่า ความหลากหลายทางสังคม วัฒนธรรม การแสดงออกของบุคคล ได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อม วัฒนธรรม และวิธีการดำเนินชีวิตจึงเป็นเบ้าหลอม ที่ส่งผลทางความคิด ในเรื่องของความคิด ความเชื่อทางเพศ

  15. สภาพทั่วไปของสถานศึกษาสภาพทั่วไปของสถานศึกษา ข้อมูลทั่วไป • โรงเรียนบ้านสาคอ ตำบลท่าสาป อำเภอเมือง จังหวัดยะลา รหัสไปรษณีย์ 95000 โทรศัพท์ 0-7327- 0119 • สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษายะลา เขต 1 • เปิดสอนตั้งแต่ระดับ ปฐมวัย ถึงระดับ ประถมศึกษา • มีเนื้อที่ 2 ไร่ 2 งาน 79 ตารางวา

  16. ข้อมูลนักเรียน • จำนวนนักเรียนในเขตพื้นที่บริการทั้งหมด 172 คน • นักเรียนชาย 86 คน • นักเรียนหญิง 86 คน

  17. จำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอนจำนวนนักเรียนจำแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน

  18. ข้อมูลนักเรียน (ต่อ) * นักเรียนที่มีความบกพร่องเรียนร่วม 13 คน * มีนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ 52 คน

  19. จำนวนนักเรียนที่ทำชื่อเสียงให้แก่โรงเรียน (รางวัลที่ได้รับ) • รางวัลชนะเลิศการเขียนเรียงความตามโครงการสา(ส์)นสร้างสันติสุขบรรเทาทุกข์ ชายแดนใต้ เด็กหญิงมิสบะห์ กูเตะ • รางวัลชมเชยการประกวดวาดภาพตามโครงการสา(ส์)นสร้างสันติสุขบรรเทาทุกข์ ชายแดนใต้ เด็กชายกอมา สะอะ • รางวัลชนะเลิศอานาเซด

  20. ข้อมูลครูและบุคลากร ผู้บริหาร ชื่อนายประมวล ปานทอง วุฒิทางการศึกษาสูงสุด ศษ.บ. สาขา การบริหารการศึกษา ดำรงตำแหน่งที่โรงเรียนนี้ตั้งแต่ วันที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2543 จนถึงปัจจุบัน

  21. จำนวนครูผู้สอน (ข้าราชการ) 9 คน เพศชาย 1 คน เพศหญิง 8 คน ปริญญาตรี 9 คน ปริญญาโท 1 คน นักการภารโรงไม่มี มีพนักงานทำความสะอาด

  22. รางวัลและผลงานดีเด่น • ครูได้รับรางวัล/ผลงานดีเด่น • ประเภท ครูต้นแบบและได้รับรางวัลเกียรติยศจำนวน 5 คน • ประเภท ครูต้นแบบ (สปช.) จำนวน 1 คน • ประเภท ครูเพชรยอดเสมา จำนวน 3 คน • ครูผู้สอนผลิดสื่อการเรียนการสอนดีเด่น จำนวน 3 คน

  23. สภาพชุมชนโดยรวม • สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนเป็นชุมชนมุสลิม นักเรียนนับถือศาสนา อิสลาม ร้อยละ ร้อย จำนวนประชากรประมาณ 953 คน อาชีพหลักของชุมชนคือเกษตรกรรม รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ ประเพณี/ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ที่เป็นที่รู้จักโดยทั่วไป คือ หนังตะลุง ลิเกฮูลู สีละ • การศึกษาของประชากรอยู่ในระดับภาคบังคับส่วนใหญ่

  24. ร้อยละ 60.00 ประกอบอาชีพ เกษตรกร • ร้อยละ 30.00 ประกอบอาชีพ รับจ้าง • ร้อยละ 10.00 ประกอบอาชีพ รับราชการ • ร้อยละ 100 นับถือศาสนา อิสลาม • ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อปี 12,000 บาท/ปี

  25. โอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียนโอกาสและข้อจำกัดของโรงเรียน • ชุมชนให้ความร่วมมือกับโรงเรียนอย่างดี ในด้านกิจกรรมตลอดจนการรักษาความปลอดภัย • การใช้แหล่งเรียนรู้นอกสถานศึกษา มีข้อจำกัดในด้านความปลอดภัย

  26. โรงเรียนร่วมโครงการก้าวย่าง ตั้งแต่ ปี 2547-2549 • ปีที่ 1 ครูเข้ารับการอบรม จำนวน 2 คน • ปีที่ 2 ครูเข้ารับการอบรม จำนวน 2 คน • รวมครูเข้ารับการอบรม ทั้งสิ้น 4 คน นักเรียนที่ได้รับการสอนหลักสูตรเพศศึกษาของโครงการก้าวย่าง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 - 6

  27. ผู้รับผิดชอบโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจผู้รับผิดชอบโครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ นางสาวรอมียะห์ นิมุ ครู คศ.3

  28. กิจกรรมเรียนรู้เพศศึกษา/ทักษะชีวิตกิจกรรมเรียนรู้เพศศึกษา/ทักษะชีวิต

  29. กิจกรรมพี่สอนน้อง

  30. โครงการโรงเรียนแกนนำ • 1. โครงการก้าวย่างอย่างเข้าใจ ระดับประถมศึกษา 2. โครงการโรงเรียนแกนนำเรียนร่วม • 3. โครงการพัฒนาการเรียนการสอนอิสลามศึกษา • ระดับประถมศึกษา (1 รร. 2 ระบบ) • 4. โครงการประสานความรู้คู่คุณธรรม

  31. 5. โครงการเรียนรู้บทเรียนสำเร็จรูป 6. โครงการสอนภาษาไทยในสามจังหวัดชายแดนใต้ 7. โครงการเลี้ยงปลาดุก 8. โครงการมื้อเที่ยงเลี้ยงอาหารกลางวัน 9. โครงการป้องกันสารเสพติดในสถานศึกษา 10. โครงการคลีนิคภาษาไทย

  32. ดร.เบญจา ชลธารินทร์ตรวจเยี่ยมชมการจัดการเรียนการสอนนักเรียนพิเศษเรียนร่วม

More Related