2.11k likes | 6.58k Views
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย WITHHOLDING TAX สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร 3. ABBREVIATION WT. : WITHHOLDING TAX PIT : PERSONAL INCOME TAX CIT : CORPORATE INCOME TAX VAT : VALUE ADDED TAX SBT : SPECIFIC BUSINESS TAX SD : STAMP DUTY
E N D
ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย WITHHOLDING TAX สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร3
ABBREVIATION • WT. : WITHHOLDING TAX • PIT : PERSONAL INCOME TAX • CIT : CORPORATE INCOME TAX • VAT : VALUE ADDED TAX • SBT : SPECIFIC BUSINESS TAX • SD : STAMP DUTY • DTA : DOUBLE TAXATION AGREEMENT • CD : CUSTOMS DUTY • ET : EXCISE TAX • LT : LOCAL TAX
Tax Planning for Business Chapter 1. Business Background 2. Taxation for Business 3. Tax Problems: Causes & Problem Solving 4. Conclusion & Suggestion
1. Business Background 1. Background (History) 2. Philosophy Vision Mission Mandate Strategy (SWOT) 3. Business Policy 4. Business Management 5. Business Process 6. Business Documents & A/C Policy 7. Finance Statement
2.Taxation for Business 1. Tax Types - CIT/ PIT, WT, VAT/ SBT, SD & Others 2. Tax Issues - Revenue, Expenditure, A/S & Liabilities, Tax Functions 3. Tax Mapping 4. Tax Manual
Tax Mapping Tax Types - - - - Tax Issues CIT WT VAT SBT SD Others 1.Revenue PIT CIT 2.Expenditure 3.A/S & Liabilities 4.Tax Functions - - - - - - - - - - - - GL - - - - - - - - - - - - - - - - - GL - - - - - - - - -
หน้าที่เกี่ยวกับภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย • หน้าที่ในการคำนวณหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย • หน้าที่ในการนำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย พร้อมทั้งยื่นแบบแสดงรายการ ไม่ว่าจะได้หักไว้หรือไม่ก็ตาม • หน้าที่ในการยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้และการนำส่งภาษี • หน้าที่ในการออกหนังสือรับการหักภาษี ณ ที่จ่าย • หน้าที่ในการจัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหัก และการนำส่งภาษี • สิทธิในการขอคืนภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย • หน้าที่ให้ความร่วมมือ
Tax Manual 1. Business Background (to answer the new comers; Tax Officers, Auditor, New Executive & Staff, Investor) 2. Tax Manual: Revenue, Tax Manual: Expenditure, Tax Manual: A/S & Liabilities (They are same procedure) 3. Tax Manual: Tax Functions
Tax Manual: Revenue Consider each Financial Transaction 1. About GAAP - Content - A/C Entry - Supporting Doc. - Audit - Internal Control
Tax Manual: Revenue Consider each Transaction 2. About Taxation - Tax Law / Tax Types - Regulation - Tax Ruling - Tax Documents - Tax Functions
Tax Manual: Revenue Consider each Transaction 3. About Difference GAAP & Taxation - What - How - How to adjust & by whom & when 4. Suggestions
3. Tax Problems 1. Tax Routine Problems 2. Business Operation/ Contract is not harmonious with Tax Regulations 3. The Difference of Financial Transactions Vs. Tax Conditions 4. Diversify/ Changing Business 5. No Using Tax Benefit
4. Conclusion & Suggestion 1. Conclusion 2. Suggestions - Who - What - How - When - Where - Why
ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย • รายได้ • - ดอกเบี้ยเงินฝาก 1% (ม.3 เตรส) • - ขายสินค้าในประเทศ - • - ขายสินค้าแก่ส่วนราชการ 1% (ม.69 ทวื) • - รับจ้างทำของ 3% (ม.3 เตรส) • - ให้เช่าทรัพย์สิน 5% (ม.3 เตรส) • - เงินปันผล 10% (ม.3 เตรส)
ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย รายจ่าย กรณีจ่ายเงินได้ให้แก่นิติบุคคล - จัดซื้อ - ลิขสิทธิ์ 3% - จัดจ้าง - ค่าขนส่ง 1% - ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย 1% - ค่าดอกเบี้ย 1% - ค่าโฆษณา 2% - ค่าบริการจ้างทำของ 3%
ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย รายจ่าย - จัดจ้าง - ค่าบริการอื่น 3% ยกเว้น โรงแรม ภัตตาคาร เบี้ยประกันชีวิต - รางวัล ส่วนลด ประโยชน์ใดๆ จากการส่งเสริมการขาย 3% - ค่านายหน้า 3% - ค่าลิขสิทธิ์ (บริการ) 3% - ค่าบริการวิชาชีพอิสระ 3%
ภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย รายจ่าย - จัดจ้าง - ค่าเช่าทรัพย์สิน 5% - ค่าจ้างทำของที่จ่ายให้แก่ บริษัทต่างประเทศที่ไม่มีสาขา เป็นการถาวรในไทย 5% - เงินปันผล 10%
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ WT. • WT. เป็นส่วนหนึ่งของวิธีการเสียภาษีเงินได้ • WT. ถือเป็นเครดิตภาษีในการยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ เว้นแต่ภาษีเงินได้นิติบุคคล ณ ที่จ่ายตามมาตรา 70 ที่เป็นภาษีเบ็ดเสร็จเด็ดขาด • เป็นการจัดเก็บในขณะที่ผู้มีเงินได้ยังมีความสามารถในการเสียภาษี (Pay as you earn, Pay as you go) • ก่อให้เกิดความสมัครใจในการเสียภาษีอากร • การจัดเก็บ WT. ไม่เป็นเหตุเสื่อมสิทธิที่จะจัดเก็บภาษีตามวิธีอื่น
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ WT. • ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 50 - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 3 เตรส • ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 69 ทวิ -ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 69 ตรี - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 3 เตรส - ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่ายตาม ม. 70
หน้าที่ของผู้จ่ายเงินได้เกี่ยวกับ WT. • คำนวณหัก WT. ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขและอัตราที่กฎหมายกำหนด • นำส่ง WT. ตามแบบแสดงรายการ (ภ.ง.ด.1, 2,3 ภ.ง.ด.53 และ 54)และภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป • ยื่นรายการสรุปการจ่ายเงินได้ (ภ.ง.ด.1ก, 2ก และ 3ก) • ออกหนังสือรับรองการหัก WT. • จัดทำบัญชีพิเศษแสดงการหัก WT. และการนำส่งภาษี • ให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงานในการตรวจสอบ
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย • WT. ตามมาตรา 50 แห่งประมวลรัษฎากร (1) WT. สำหรับเงินได้ตามม. 40(1)(2) (2) WT. สำหรับเงินได้ตามม. 40(3)(4) (3) WT. สำหรับเงินได้ตามม. 40(5)(6) เฉพาะที่จ่ายให้แก่ผู้รับที่มิได้เป็นผู้อยู่ในประเทศไทย (4) WT. สำหรับเงินได้ตามม. 40(5)(6)(7)(8) เฉพาะ กรณีผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ (5)(6) WT. สำหรับค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย • WT. ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร - ม. 40(5)(ก) เงินได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน 5% - ม. 40(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ 3% - ม. 40(7),(8) เงินได้ค่าจ้างทำของ 3% - ม. 40(8) เงินได้ค่าโฆษณา 2% - ม. 40(8) ค่าแสดงของนักแสดงสาธารณะ*5%, 10% อัตราก้าวหน้า - ม. 40(8) เงินรางวัลจากการประกวด ชิงโชค* 5%
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย(ต่อ) • WT. ตามมาตรา 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) - ม. 40(8) ค่าบริการอื่นๆ 3% (16 ก.ค.2544) - ม. 40(8) ค่าขนส่งที่มิใช่ค่าโดยสาร-สาธารณะ (16 ก.ค.-14 ก.ย.2544) 3% (15 ก.ย.2544 เป็นต้นไป) 1% - ม. 40(8)รางวัลจากการส่งเสริมการขาย 3% (16 ก.ค.2544) * รวมทั้งผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือหสม.ที่มิใช่นิติบุคคล
WT ตามมาตรา 50 และมาตรา 3 เตรส • WT ตามมาตรา 50 เป็นกรณีที่กฎหมายกำหนดความชัดเจนในเรื่องต่อไปนี้ - ผู้จ่ายเงินได้เป็นบุคคลใดบ้าง - ประเภทเงินได้พึงประเมินที่กำหนดให้ต้องหัก WT - ผู้มีเงินได้ที่ต้องถูกหัก WT - หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการคำนวณ WT • WT ตามมาตรา 3 เตรส เป็นกรณีกฎหมายให้อำนาจอธิบดีกรมสรรพากรในอันที่จะสั่งให้ผู้จ่ายเงินได้ที่ไม่มีหน้าที่ต้องหัก WT ตามมาตรา 50 ให้เป็นผู้มีหน้าที่หัก WT ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ 144
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย • WT. ตาม ม. 69 ทวิ แห่งประมวลรัษฎากร กรณีผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ 1% • WT. ตาม ม. 69 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร กรณีจ่ายเงินได้ค่าซื้ออสังหาริมทรัพย์ 1%
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย (ต่อ) • WT. ตาม ม. 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร - ม. 40(2) เงินได้ค่านายหน้าตาม 3%,10% - ม. 40(3) เงินได้ค่าสิทธิ 3%, 10% -ม. 40(4)(ก) เงินได้ค่าดอกเบี้ย 1%,10% - ม. 40(4)(ข) เงินปันผล/เงินส่วนแบ่งของกำไร10% -ม. 40(5)(ก) ค่าเช่าทรัพย์สิน 5%, 10% - ม. 40(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ 3%, 10% -ม. 40(7)(8) ค่าจ้างทำของ 3%, 5% - - ม. 40(8) ค่าซื้อพืชผลทางการเกษตร 0.75% - ม. 40(8) ค่าโฆษณา 2%
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย (ต่อ) • WT. ตาม ม. 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) - ม. 40(8) รางวัลจากการแข่งขัน ชิงโชค* 5% - ค่าบริการอื่นๆ 3% - ค่าขนส่งที่มิใช่ค่าโดยสาร-สาธารณะ (16 ก.ค.-14 ก.ย. 2544) 3% (15 ก.ย. 2544 เป็นต้นไป) 1% * รวมทั้งผู้จ่ายเงินได้ที่เป็นบุคคลธรรมดา คณะบุคคล หรือ หสม.ที่มิใช่นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย (ต่อ) • WT. ตาม ม. 3 เตรส แห่งประมวลรัษฎากร (ต่อ) - รางวัล ส่วนลดประโยชน์ใดๆม. 40(8) 3% จากการส่งเสริมการขาย (16 ก.ค. 2544) - ค่าเบี้ยประกันวินาศภัย ม. 40(8) 1% (16 ก.ค. 2544)
ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย(ต่อ) • WT. ตาม ม. 70 แห่งประมวลรัษฎากร กรณีจ่ายเงินได้พึงประเมินตามมาตรา 40(2)(3)(4)(5) หรือ (6) ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ มิได้ประกอบกิจการในประเทศไทย ไม่ว่าเงินได้ดังกล่าวจะจ่ายจากประเทศไทย หรือจ่ายในประเทศไทย อัตรา 15% สำหรับเงินได้อย่างอื่นที่มิใช่เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร อัตรา 10% สำหรับเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร
WT. ตาม ม. 3 เตรส มาตรา 3 เตรส กฎกระทรวง ฉบับที่ 144คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป. (แก้ไขโดย ฉบับที่ 229,4/2528 (แก้ไขโดย ท.ป. 234 และ 238)101/2544,104/2544 และ111/2535)
ประเภทเงินได้พึงประเมินประเภทเงินได้พึงประเมิน Capital Gain ดอกเบี้ยเงินกู้ยืม – มาตรา 40(4)(ก) ผู้ถือหุ้น มาตรา 40(4)(ข) –(ช) W.T. 15% กรรมการ มาตรา 40(2) – หน้าที่/ ตำแหน่งงานที่ทำ เลือกเสีย PIT ตามมาตรา 48(3) บริษัท มาตรา 40(1) - จ้างแรงงาน มาตรา 40(2) - รับทำงานให้ พนักงาน Dr. - ค่าใช้จ่าย Cr. - รายได้ มาตรา 40(2) – เงินได้จากการรับทำงานให้ เช่น ค่านายหน้า มาตรา 40(3) – ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น มาตรา 40(4)(ก) – ดอกเบี้ย เงินได้ลักษณะทำนองเดียวกับดอกเบี้ย มาตรา 40(5)(ก) – ค่าเช่าทรัพย์สิน มาตรา 40(6) – เงินได้จากวิชาชีพอิสระ มาตรา 40(7) – เงินได้จากการรับเหมาที่ต้องจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญฯ มาตรา 40(8) – เงินได้จากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การขนส่ง หรือการอื่นใดนอกจากที่ระบุใน (1) - (7)
เงินได้จากการรับทำงานให้เงินได้จากการรับทำงานให้ ใช้แรงงานเป็นสำคัญ มีใช้จ่ายน้อย: 40% ของเงินได้ แต่ไม่เกิน 60,000 บาท ใช่ มาตรา 40(2) ไม่ใช่ ใช้วิชาชีพอิสระ ใช่ มาตรา 40(6) ไม่ใช่ ใช่ จัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญ นอกจากเครื่องมือ มาตรา 40(7) ไม่ใช่ ใช่ มาตรา 40(8) ทำในรูปของธุรกิจ มีสำนักงาน มีค่าใช้ในการดำเนินงานสูง ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป.115/2545 ประกอบ
มาตรา 3 • มาตรา 3 ทวิ มาตรา 3# สอง • มาตรา 3 ตรี สาม • มาตรา 3 จัตวา สี่ • มาตรา 3 เบญจ ห้า • มาตรา 3 ฉ หก • มาตรา 3 สัตต เจ็ด • มาตรา 3 อัฏฐ แปด • มาตรา 3 นว เก้า • มาตรา 3 ทศ สิบ • มาตรา 3 เอกาทศ สิบเอ็ด • มาตรา 3 ทวาทศ สิบสอง • มาตรา 3 เตรส สิบสาม • มาตรา 3 จตุทศ สิบสี่
ประเภทเงินได้พึงประเมินประเภทเงินได้พึงประเมิน • มาตรา 40(1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน • มาตรา 40(2) เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือเงินได้เนื่องจากการรับทำงานให้ • มาตรา 40(3) ค่าแห่งลิขสิทธิ์ หรือสิทธิอย่างอื่น • มาตรา 40(4) เงินได้ที่เป็น (ก) ดอกเบี้ยพันธบัตร ดอกเบี้ยเงินฝาก ดอกเบี้ยหุ้นกู้ ดอกเบี้ยตั๋วเงิน ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือ ไม่ ผลต่างระหว่างราคาจำหน่ายตั๋วเงินหรือตราสารแสดง สิทธิในหนี้ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลหรือนิติบุคคล อื่นเป็นผู้ออกและจำหน่ายครั้งแรกต่ำกว่าราคาไถ่ถอน
ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ)ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ) เงินได้ที่มีลักษณะทำนองเดียวกับดอกเบี้ย ผลประโยชน์หรือค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ได้จากการให้กู้ยืมเงิน หรือจากสิทธิเรียกร้องในหนี้ทุกชนิดไม่ว่าจะมีหลักประกันหรือไม่ก็ตาม (ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกำไร หรือประโยชน์อื่นใดที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลฯ (ค) โบนัสที่จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วน (ง) ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้จากการลดทุน (จ) ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้จากการเพิ่มทุน (ฉ) ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้จากการควบ โอน หรือเลิกกิจการ
ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ)ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ) (ช) ผลประโยชน์อื่นใดที่ได้จากการโอนหลักทรัพย์ หรือตราสารฯ หุ้น หุ้นส่วน หุ้นกู้ พันธบัตร ตั๋วเงิน ตราสารแสดงสิทธิในหนี้ เฉพาะส่วนที่ราคาเป็นเงินได้เกินกว่าที่ลงทุน • มาตรา 40(5)(ก) เงินหรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน • มาตรา 40(6) เงินได้จากวิชาชีพอิสระ คือ วิชากฎหมาย การประกอบโรคศิลป วิศวกรรม สถาปัตยกรรม การบัญชี ประณีตศิลปกรรม • มาตรา 40(7) เงินได้จากการรับเหมาที่ผู้รับเหมาต้องจัดหาสัมภาระในส่วนสำคัญนอกจากเครื่องมือ
ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ)ประเภทเงินได้พึงประเมิน(ต่อ) • มาตรา 40(8) เงินได้จาก • การธุรกิจ • การพาณิชย์ • การเกษตร • การอุตสาหกรรม • การขนส่ง • การอื่นใดนอกจากที่ระบุไว้ในมาตรา 40(1) ถึง (7) แล้ว
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย • คำนวณหัก WT. เมื่อมีการจ่ายเงินได้ โดยถือตามเกณฑ์ เงินสด (Cash Basis) • การจ่ายเงินได้เป็นเงินสดธนาณัติ ดราฟต์ • การชำระด้วยบัตรเครดิต การโอนเงินผ่านธนาคาร • การจ่ายเงินได้เป็นทรัพย์สินหรือสิ่งของ (Things) • การแลกเปลี่ยน (Barter) • การจ่ายเงินได้ที่เป็นประโยชน์เพิ่ม (Fringe Benefit) • การหักกลบลบหนี้ • การจ่ายเงินได้ด้วยเช็ค ตั๋วเงิน C/N (วันที่ลงในเช็ค ตั๋ว เงิน C/N) ข้อยกเว้น:เฉพาะการซื้อขายอสังหาริมทรัพย์ ให้คำนวณ หัก WT. และเสีย SBT ในขณะจดทะเบียนฯ
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย • “ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย แม้มิได้หักก็ต้องนำส่ง” • เมื่อได้นำส่ง WT. ที่ผู้จ่ายเงินได้มิได้หักไว้อาจเลือกปฏิบัติ ได้ดังนี้ • ตั้งผู้มีเงินได้เป็นลูกหนี้ไว้ แล้วออกใบแจ้งหนี้ พร้อมทั้งหนังสือรับรองการหัก WT. ให้แก่ผู้มีเงินได้ • ออก WT. ให้แก่ผู้มีเงินได้ โดยออกให้จำกัดจำนวน หรือออกให้ตลอดไป (ออกให้ทุกทอด) • กรณีออก WT. ให้ทุกทอด และอัตรา WT. คงที่ ให้ คำนวณโดย WT.ที่ออกให้ = เงินได้ที่จ่าย x อัตรา WT. (100 – อัตรา WT.)
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย • ค่าภาษีอากรไม่ว่าประเภทใดๆ ที่ผู้จ่ายเงินหรือผู้อื่นออกแทนให้ ไม่ว่า จะออกกี่ทอด ให้ถือเป็นเงินได้ทุกทอด และให้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินประเภท และปีภาษีเดียวกับเงินได้ที่ออกภาษีแทนให้นั้น • การให้เป็นสินค้าหรือสิ่งของ หากผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และผู้จ่ายเงินได้มิได้เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม ให้นำค่าภาษีมูลค่าเพิ่มมาถือรวมเป็นเงินได้เพื่อคำนวณหัก WT. ด้วย • เงินได้เกิดขึ้นในปี 25x1 แม้จะออกภาษีให้ในปีอื่น ก็ให้ถือเป็นเงินได้พึงประเมินของปี 25x1 จึงต้องหัก WT. นำส่งไม่เกิน 7 ม.ค. 25x2
ค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายออกแทนให้ค่าภาษีอากรที่ผู้จ่ายออกแทนให้ ผู้จ่ายเงินได้ออกภาษีโรงเรือนฯ แทนนาย ก. นาย ก.มีเงินได้ จากการให้เช่าทรัพย์สิน 2549 2548 Exp. ออกภาษีเงินได้ แทนผู้มีเงินได้ เป็นเงินได้ในปี 2548 ต้องหัก WT. และนำส่ง ไม่เกินวันที่ 7 ม.ค. 49
ข้อกำหนดเบื้องต้น เกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย(ต่อ) • การจ่ายเงินได้โดยตั้งตัวแทนจ่าย เช่น Shipping, Freight Forwarder • หากการจ่ายเงินได้นั้น ตัวการมีหน้าที่ต้องหัก WT. ให้ตัวแทนหัก WT. แทนตัวการ • การออกหนังสือรับรองการหัก WT. ให้ใช้แบบหนังสือรับรองของตัวแทน โดยให้ระบุชื่อ ที่อยู่ และเลขประจำ ตัวผู้เสียภาษีอากรของตัวการด้วย • การนำส่ง WT. แทนตัวการ ให้ตัวแทนกรอกแบบนำส่งภาษีเป็นรายตัวการ แต่ในช่องผู้จ่ายเงินให้ใส่ชื่อตัวแทน
5W 1H: Who What How When Where Why ว่าจ้าง WT1% VAT ส่วนราชการ บริษัท A. จำกัด Subcontract WT 3% VAT จ่ายเงินได้โดยตรง บริษัท B. จำกัด ตัวการมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการใด ตัวแทนย่อมมีหน้าที่เกี่ยวกับ WT. โดยประการนั้น
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย(ต่อ) • การจ่ายค่าบริการให้กับธนาคารพาณิชย์และบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์หรือเครดิตฟองซิเอร์โดยจ่ายผ่านระบบการหักเงินจากบัญชีธนาคารของผู้จ่ายเงิน • ผู้จ่ายเงินอาจแต่งตั้งให้ผู้ถูกหักภาษีณที่จ่ายเป็นตัวแทนในการหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายออกหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายลงลายมือชื่อในหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่าย ยื่นรายการภาษีเงินได้หักณที่จ่ายและชำระภาษีเงินได้หักณที่จ่ายแทนผู้จ่ายเงิน • ผู้ถูกหักภาษีณที่จ่ายต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายและยื่นรายการภาษีเงินได้หักณที่จ่ายในนามของผู้จ่ายเงิน • ผู้ถูกหักภาษีณที่จ่ายอาจเป็นตัวแทนเพื่อดำเนินการหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายแทนผู้จ่ายเงินตัวการหลายตัวการได้
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย(ต่อ) • ผู้จ่ายเงินไม่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายสำหรับการจ่ายค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการในทันทีทุกครั้งที่มีการหักภาษีณที่จ่าย • ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายไม่ต้องออกหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายเป็นรายฉบับทุกครั้งที่จ่ายเงินแต่ต้องจัดทำรายละเอียดรายการภาษีเงินได้หักณที่จ่ายเพื่อเป็นหนังสือรับรองการหักภาษีณที่จ่ายด้วย • เมื่อดำเนินการหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายแทนผู้จ่ายเงินแล้วผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายต้องระบุข้อความเพิ่มเติมในใบกำกับภาษีของค่าธรรมเนียมหรือค่าบริการว่า “ผู้ถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายได้ดำเนินการหักภาษีเงินได้ณที่จ่ายในอัตราร้อยละ 3.0 เป็นจำนวนเงิน … บาทแทนผู้จ่ายเงินแล้วและจะดำเนินการนำส่งภาษีดังกล่าวต่อกรมสรรพากรภายในวันที่ 7 ของเดือนถัดไป”
ข้อกำหนดเบื้องต้นเกี่ยวกับภาษีหัก ณ ที่จ่าย • การจ่ายเงินได้ที่ต้องหักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่ายตามมาตรา 3 เตรส • โดยทั่วไปต้องมีจำนวนตั้งแต่ 1,000 บาทขึ้นไป ผู้จ่ายเงินได้จึงจะมีหน้าที่ต้องหัก WT. • การจ่ายเงินได้ตามสัญญาระยะยาว ให้คำนวณหัก WT. เมื่อจำนวนเงินได้ที่จ่ายสะสมรวมกันถึง 1,000 บาท • การจ่ายเงินได้ที่มิใช่กรณีตามสัญญาระยะยาว หากเงินได้ที่จ่ายมีจำนวนรวมกันหลายรายการถึง 1,000 บาท ให้คำนวณหัก WT. ทั้งจำนวน
ประเทศไทย ต่างประเทศ Mr. X 1. WT. มาตรา 50(1) 15% ภ.ง.ด.1 บริษัท A. จำกัด WT. : มาตรา 40(2) ค่านายหน้า (Commission) 2. WT. มาตรา 50(1) ภ.ง.ด.1 อัตราก้าวหน้าของเงินได้สุทธิ นาย ก. 4. WT. มาตรา 3 เตรส 3% ภ.ง.ด.53 (ตั้งแต่ 16 ก.ค. 44) 3. WT. มาตรา 70 15% ภ.ง.ด.54 บริษัท C. จำกัด บริษัท B. จำกัด มูลนิธิ/ สมาคม 10%
เงินได้ที่Shipping ต้องหัก WT.แทน Shipper • ค่า Freight 1% - Outbound บริษัทไทย DTA Non DTA Air Freight 1% Non WT.* 1% Sea Freight Non WT.1% 1% - Inbound (เฉพาะทางอากาศยานโดยบริษัทที่ตั้งขึ้นตามกม.ไทย) • ค่าขนส่งในประเทศ (เฉพาะเอกชน) 1% • ค่าบริการท่าเรือ (เฉพาะเอกชน) 3% • ค่า Warehouse(เฉพาะเอกชน)3% • ค่าเบี้ยประกัน 1%
เงินได้ที่ Shipping ต้องหัก WT.แทน Shipper • ค่านายหน้า ตัวแทน (Commission, BrokerFee) • ตัวแทนประกันภัย • นายหน้าหาพื้นที่เช่า, หางาน, นำเรือเข้าท่า, ขายสินค้า,ขายหลักทรัพย์ • ตัวแทนบริษัทขนส่งระหว่างประเทศ • ชิปปิ้ง (Shipping) Freight Forwarder • ค่าธรรมเนียมจัดหาเงินกู้(Management Fee) • ค่าธรรมเนียมดูแลเงินกู้(Agency Fee)
Advanced & Reimbursement Advanced Non WT Non VAT จ่ายเงินได้ WT VAT ตัวแทน ตัวการ Reimbursement Non WT Non VAT ใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี