1.14k likes | 1.69k Views
ระบบควบคุมภายใน. [ INTERNAL CONTROL ]. ความเป็นมาและความสำคัญของ การควบคุมภายใน. ความเป็นมา : ต่างประเทศ. เกิดวิกฤติการณ์ในสถาบันการเงิน(ธนาคารแบริ่งส์/ไดวา) ความเสียหายจากวิกฤติการณ์เกิดจากความบกพร่อง ขาดการแบ่งภาระหน้าที่ มีการมอบอำนาจให้คนคนเดียวมากเกินไป
E N D
ระบบควบคุมภายใน [ INTERNAL CONTROL ]
ความเป็นมาและความสำคัญของการควบคุมภายในความเป็นมาและความสำคัญของการควบคุมภายใน
ความเป็นมา : ต่างประเทศ • เกิดวิกฤติการณ์ในสถาบันการเงิน(ธนาคารแบริ่งส์/ไดวา) • ความเสียหายจากวิกฤติการณ์เกิดจากความบกพร่อง • ขาดการแบ่งภาระหน้าที่ • มีการมอบอำนาจให้คนคนเดียวมากเกินไป • การตรวจสอบภายในขาดประสิทธิภาพ • การควบคุมกำกับไม่เพียงพอ • ขาดการบริหารความเสี่ยงในด้านการลงทุน
ประเทศไทย • ภาคเอกชน • ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย • ภาคราชการ • พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ • ระเบียบ คตง.
ยุทธศาสตร์การการพัฒนาระบบราชการกระทรวงสาธารณสุข(พ.ศ.2546-2550)ยุทธศาสตร์การการพัฒนาระบบราชการกระทรวงสาธารณสุข(พ.ศ.2546-2550) ยุทธศาสตร์ ที่ 1 • การปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการทำงาน • ฯลฯ • การจัดวางระบบควบคุมภายใน ให้ครอบคลุมทุกหน่วยงาน • ฯลฯ
ความสำคัญของระบบควบคุมภายในความสำคัญของระบบควบคุมภายใน • เป็นเครื่องมือในการป้องกัน หรือป้อมปรามมิให้เกิดความผิดพลาด/ความเสียหายเกิดขึ้นกับหน่วยงาน/ราชการ • เป็นดัชนีของการบริหารงานที่มีมาตรฐาน • เป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงานที่บุคลากรสามารถใช้อ้างอิงในการปฏิบัติงาน
ลักษณะของระบบการควบคุมภายในที่ดีลักษณะของระบบการควบคุมภายในที่ดี • การปฏิบัติงานเป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และนโยบายของส่วนราชการนั้น ๆ • การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ได้ผลอย่างคุ้มค่า • มีระบบป้องกันข้อผิดพลาด หรือสามารถพบข้อบกพร่องได้โดยผู้ปฏิบัติงานได้โดยง่าย • มีการกระทำความผิดได้ยาก • มีการดูแลรักษาทรัพย์สิน • มีระบบประเมินผลงานและรายงานผลการปฏิบัติงานที่ดี
บทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหารบทบาทและความรับผิดชอบของผู้บริหาร • นำองค์กรในการจัดระบบ กำหนดนโยบายที่ชัดเจน • สร้างสภาพแวดล้อมการควบคุมที่ดี, เป็นตัวอย่างที่ดี • พิจารณาแต่งตั้งบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ • ระบุอย่างชัดแจ้งถึงอำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ • จัดให้มีสายการบังคับบัญชาที่เหมาะสม และชัดเจน • กำหนดนโยบายการควบคุมจากผลของการประเมินความเสี่ยง • ติดตามผลการดำเนินงานด้านการควบคุมขององค์กร
ความสัมพันธ์ การควบคุมภายใน [ INTERNAL CONTROL ] การตรวจสอบภายใน INTERNAL AUDIT
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ 5 ด้าน • ด้านโครงสร้าง • ด้านการบริหาร • ด้านระบบงาน • ด้านกฎระเบียบ • ด้านบุคลากร
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ โครงสร้าง • เล็ก กะทัดรัด คล่องตัว ทำเองเฉพาะภารกิจหลัก • มีการจ้างเหมา ใช้แนวร่วม คือ จ้างเอกชนเข้ามา • Flat ลง ใช้ Matrix มากขึ้น คือ ใช้ความจริงมากขึ้น จะเกิดการวัดความสามารถ ได้ • จัดแบบ Mission มากกว่า Function Approach
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ การบริหาร 1. ใช้ Corporate Plan เน้นความกลมกลืนของแผนงาน แผนเงิน แผนคน 2. มีการตั้งเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จ 3. การกระจายอำนาจ/มอบอำนาจ ทำงานมุ่งหวังผลสำเร็จ (Result-based Management) มากกว่าทำเพื่อให้ถูกกฎระเบียบ
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ ระบบงาน ลดขั้นตอนลง ทำแบบเบ็ดเสร็จ คำนึงถึงลูกค้าผู้รับบริการ คือ Customer Focus (ลูกค้าเป็นศูนย์กลาง) โปร่งใส ตรวจสอบได้ คือ เปิดเผย Hi-Tech คือ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ กฎระเบียบ • สังคยนา/ยกเลิก • ปรับให้ทันสมัย • คลายกฎระเบียบที่เข้มงวด
ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ลักษณะของหน่วยงานของรัฐยุคใหม่ บุคลากร • มีหลายทักษะ (Multi-Skills) • เงินเดือนตามอัตราตลาด • มีการเข้า-ออกมากขึ้น (ระบบเปิด) • การพัฒนาคน เน้น Leadership และ Values
มาตรการ/กิจกรรมรองรับGood Governance • หลักคุณธรรม • หลักความรับผิดชอบ • หลักนิติธรรม, กฎหมาย • หลักความโปร่งใส, ตรวจสอบได้ • หลักการมีส่วนร่วม • หลักความคุ้มค่า ส่งเสริมจริยธรรม การสรรหา แต่งตั้ง จากผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ การมอบหมายหน้าที่ การประเมินผลงาน การถือปฏิบัติตามระเบียบ/กฎหมาย ดำเนินการกับผู้ฝ่าฝืน จัดระบบควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน การดำเนินงานในรูปแบบคณะกรรมการ การวางแผนยุทธศาสตร์ การสร้างเครือข่ายดำเนินงาน มาตรการประหยัด ประเมินประสิทธิภาพ การคิดต้นทุนดำเนินงาน
ความเสี่ยงทางกฎหมายของผู้บริหารความเสี่ยงทางกฎหมายของผู้บริหาร ทางละเมิด ทางวินัย ทางอาญา ทางปกครอง
ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
เจตนารมย์ • เพื่อให้หน่วยรับตรวจนำมาตรฐานเกี่ยวกับการควบคุมภายในไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับขนาด ภารกิจ และความซับซ้อนของแต่ละหน่วย • ให้ความสำคัญต่อการควบคุมโดยตนเอง • สอดแทรกในกระบวนการในการทำงานตามปกติ • มีระบบป้องกัน/เพิ่มภูมิคุ้มกันให้หน่วยงานจากความเสี่ยง • มีสัญญาณเตือนภัยที่ดี
แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 1. การควบคุมภายในเป็นส่วนประกอบที่แทรก หรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติ 2. การควบคุมภายในเกิดขึ้นได้โดยบุคลากรของ หน่วยรับตรวจ 3. การควบคุมภายในให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนด
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ๑ ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน ๑ ความเชื่อถือของรายงานทางการเงิน ๑ การปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน 1. Operational Organization 3 E Effectiveness Efficiency Economy 3 C - Compliance (ปฎิบัติตามกฎ) - Consistency (มีความสม่ำเสมอ, ไม่เลือกปฏิบัติ) - Control (มีการควบคุม กำกับดูแล) 2. Financial Reporting Validity Reliability Real time 3 C Compliance Consistency Control - ความถูกต้อง, แม่นตรง - เชื่อถือได้ - ทันเวลา, ปัจจุบัน
การจัดระบบควบคุมภายในการจัดระบบควบคุมภายใน Soft Control องค์ประกอบ 5 ประการ ของการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อม แห่งการควบคุม hard Control 5. การติดตาม ประเมินผล 2. การประเมิน ความเสี่ยง OFC 4. สารสนเทศ และการสื่อสาร 3. กิจกรรมการควบคุม O = Operation F = Financial Reporting C = Compliance
ขอบเขตของการจัดกิจกรรมควบคุมภายในขอบเขตของการจัดกิจกรรมควบคุมภายใน • ระบบบริหารจัดการ/บริหารทรัพยากรขององค์กร • ระบบงานตามภารกิจหลักขององค์กร • ระบบงานสนับสนุนภารกิจหลักขององค์กร
มาตรฐานการควบคุมภายในมาตรฐานการควบคุมภายใน 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities ) 4. สารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communications) 5. การติดตามประเมินผล (Monitoring)
1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม สภาพแวดล้อมของการควบคุม หมายถึง ปัจจัยต่างๆซึ่งร่วมกันส่งผลให้มีการควบคุมขึ้นในหน่วยรับตรวจหรือทำให้การควบคุมที่มีอยู่ได้ผลดีขึ้น ในทางตรงกันข้ามก็อาจทำให้การควบคุมย่อหย่อนลงได้
สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม ตัวอย่างปัจจัยเกี่ยวกับสภาพแวดล้อมของการควบคุม - ปรัชญาและรูปแบบการทำงานของผู้บริหาร - ข้อกำหนดด้านจริยธรรมและความซื่อสัตย์ - โครงสร้างการจัดองค์กร - นโยบายและวิธีบริหารบุคคล - การกำหนดความรู้ ทักษะและความสามารถของบุคลากร - การมอบอำนาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ - การจัดระบบงานต่างๆ
สภาพแวดล้อมของการควบคุมสภาพแวดล้อมของการควบคุม มาตรฐาน: ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหาร และบุคลากรของหน่วยรับตรวจต้องสร้างบรรยากาศของการควบคุมเพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมภายใน โดยส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนในหน่วยงานรับตรวจเกิดจิตสำนึกที่ดีในการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ และตระหนักถึงความจำเป็นและความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งดำรงรักษาไว้ซึ่งสภาพแวดล้อมของการควบคุมที่ดี
การควบคุมที่มองไม่เห็น(Soft Controls) ความซื่อสัตย์ ความโปร่งใส การมีภาวะผู้นำที่ดี ความมีจริยธรรม การควบคุมที่มองเห็นได้ (Hard Controls) กำหนดโครงสร้างองค์กร นโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบัติ การสร้างบรรยากาศของการควบคุม
สภาพแวดล้อมการควบคุมภายในที่ดีสภาพแวดล้อมการควบคุมภายในที่ดี • บุคลากรมีความรับผิดชอบและเข้าใจอำนาจหน้าที่ของตน • บุคลากรมีความรู้ ความสามารถ และทักษะที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน • บุคลากรยอมรับ และปฏิบัติตามนโยบายการปฏิบัติงาน • บุคลากรมีจริยธรรม และศีลธรรมอันดี
2. การประเมินความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาดความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ซึ่งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบความสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด
การประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุวิเคราะห์ความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรรวมทั้งการกำหนดแนวทางที่จำเป็นต้องใช้ในการควบคุมความเสี่ยงหรือบริหารความเสี่ยง
การประเมินความเสี่ยง มาตรฐาน : ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้งจากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและเหมาะสม
3. กิจกรรมการควบคุม กิจกรรมการควบคุมหมายถึง นโยบายและวิธีการต่าง ๆที่ฝ่ายบริหารกำหนดให้บุคลากรของหน่วยรับตรวจปฏิบัติเพื่อลดหรือควบคุมความเสี่ยง และได้รับการสนองตอบโดยมีการปฎิบัติ
กิจกรรมการควบคุม มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มี กิจกรรมการควบคุมที่มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล เพื่อป้องกันหรือลดความเสียหายความผิดพลาดที่อาจเกิด ขึ้นและให้สามารถบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน
มิติของการควบคุม • HARD CONTROLการควบคุมที่ใช้หลักการของกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ มติ ค.ร.ม. ฯลฯ ที่เข้มงวด เป็นลายลักษณ์อักษร • SOFT CONTROLการควบคุมที่ตนเอง เป็นการแสดงพฤติกรรมที่บ่งชี้ว่ามีจิตสำนึกที่ดี ทัศนคติ ค่านิยม ความรับผิดชอบ ในการปฏิบัติงานและมีการตรวจสอบตนเองในการรักษากฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้อง • CONTROL SELF ASSESSMENT (CSA)ประเมินการควบคุมตนเอง
4. สารสนเทศและการสื่อสาร • สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลข่าวสารทางการเงิน และข้อมูลข่าวสารอื่น ๆ เกี่ยวกับการ ดำเนินงานของหน่วยรับตรวจ ไม่ว่าเป็นข้อมูลจากแหล่งภายใน หรือภายนอก • การสื่อสาร หมายถึง การส่งสารสนเทศระหว่างบุคลากรทั้งในและระหว่างหน่วยงาน
สารสนเทศและการสื่อสาร สารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีสารสนเทศอย่างพอ เพียงและสื่อสารให้ฝ่ายบริหารและบุคลากรอื่นๆที่เหมาะสมทั้งภายในและภายนอกหน่วยรับตรวจ ซึ่งจำเป็นต้องใช้สารสนเทศนั้นในรูป แบบที่เหมาะสมและทันเวลา
5. การติดตามประเมินผล การติดตามประเมินผลหมายถึง กระบวนการประเมินคุณภาพการปฎิบัติงาน และประเมินประสิทธิผลของการควบคุมภายในที่วางไว้อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
การติดตามประเมินผล มาตรฐาน: ฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีการติดตามประเมินผล (Monitoring) โดยการติดตามผลในระหว่างการปฎิบัติงาน (Ongoing Monitoring) และการประเมินผลเป็นรายครั้ง (Separate Evaluation) อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ เพื่อให้ความมั่นใจว่า มีระบบ มีการนำไปใช้ปฏิบัติและเกิดประสิทธิภาพ
เป้าหมายการติดตามประเมินผลเป้าหมายการติดตามประเมินผล - ระบบการควบคุมภายในที่วางไว้เพียงพอ เหมาะสม มีประ สิทธิภาพ และ มีการปฎิบัติจริง - การควบคุมภายในดำเนินไปอย่างมีประสิทธิผล - ข้อตรวจพบจากการตรวจสอบและการสอบทานอื่นๆ ได้รับการปรับปรุงแก้ไขอย่างเหมาะสมและ ทันเวลา - การควบคุมภายในได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้สอด คล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
กระบวนการจัดระบบควบคุมภายในกระบวนการจัดระบบควบคุมภายใน
หลักการที่สำคัญ • การควบคุมภายในเป็นระบบคุณภาพทางด้านบริหารจัดการ • นโยบายขององค์กรต้องชัดเจน • การมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน • มีความต่อเนื่องในการดำเนินงาน • สอดแทรกกิจกรรมควบคุมในกระบวนการของงานตามปกติ
กระบวนการจัดระบบควบคุมภายในกระบวนการจัดระบบควบคุมภายใน ผู้บริหาร กรรมการ/คณะทำงาน ประเมิน/รายงาน(ข้อ6) ผูรับผิดชอบในหน่วยงาน ประกาศใช้ กำหนดผู้รับผิดชอบ ระบบงาน ทบทวนภารกิจ กำหนดขอบเขตการประเมินการควบคุมภายใน ปรับปรุง/จัดระบบ สภาพแวดล้อม การบริหารความเสี่ยง รายงานความก้าวหน้า (ข้อ 5) ประเมินการควบคุมภายใน ระบบสารสนเทศ สตง. ต้นสังกัด (ค1 ค4) การประเมินผล นำเสนอผลการประเมินและข้อเสนอในการปรับปรุง ทำแผนปรับปรุงระบบ แบบ ค 1,ค 2 แผนปรับปรุงระดับองค์กร ( ค 4 ) แผนปรับปรุงระดับหน่วยงาน ( ค 3 )
กระบวนการดำเนินงานการเตรียมการกระบวนการดำเนินงานการเตรียมการ • การกำหนดนโยบาย • การเตรียมอุปกรณ์และเทคโนโลยี • ด้านบุคลากร • ปรับปรุงองค์ความรู้ • มอบหมายหน้าที่ • ผู้รับผิดชอบ • กรรมการเฉพาะกิจ
การเตรียมการ (ต่อ) • การจัดทำแผนปฏิบัติการจัดระบบ • ปรับปรุงองค์ความรู้ • กำหนดผู้รับผิดชอบ • กำหนดขอบเขตประเมิน • ระบบงานต่างๆ • ทบทวนภารกิจ • ประเมินความเสี่ยง
การทบทวนภารกิจของหน่วยงานการทบทวนภารกิจของหน่วยงาน • หน้าที่ของหน่วยงาน • การจัดองค์กรในหน่วยงาน(ที่ใช้ปฏิบัติจริง) • บทบาทหน้าที่หน่วยงานภายใน • การจัดหน่วยงานภายใน • ภารกิจหลัก ภารกิจรอง • กิจกรรมที่ต้องปฏิบัติของแต่ละภารกิจ • ขั้นตอนการปฏิบัติงานโดยละเอียดของแต่ละกิจกรรม(คู่มือ)
การดำเนินงานจัดระบบ • การจัดสภาพแวดล้อมการควบคุมภายใน • การประเมินความเสี่ยงและกิจกรรมควบคุม • การจัดระบบข้อมูลข่าวสารและสารสนเทศ • การจัดระบบประเมินผล • ทำแผนปรับปรุงการควบคุมภายใน แบบ ปย.3 • ดำเนินการปรับปรุงระบบควบคุม
การดำเนินงานจัดระบบ • สรุปภาพรวมของระบบ(จัดทำเอกสารรูปเล่ม) • การประกาศใช้ • การจัดทำชุดสารสนเทศ • การรายงานผลการควบคุมภายใน
การจัดสภาพแวดล้อมของการควบคุมการจัดสภาพแวดล้อมของการควบคุม • ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร มีบทบาท • กำหนดนโยบาย แนวทาง จริยธรรมในการปฏิบัติงาน • ประกาศเป็นลายลักษณ์อักษร • ผู้บริหารหรือคณะกรรมการ มีบทบาท • การจัดองค์กร • คณะกรรมการ ที่จำเป็น • อัตรากำลัง หน้าที่รับผิดชอบ สายการบังคับบัญชา • จัดระบบงานที่เหมาะสมกับภารกิจ และสอดคล้องกฎระเบียบ • กำหนดกิจกรรมป้องกัน ผิดวินัย กฎหมาย จริยธรรม ความสามัคคี