400 likes | 551 Views
หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย. หลักการบริหารความเสี่ยง. ต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์กรทั้งหมด ส่งผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ - เงินและทรัพย์สินขององค์กร
E N D
หลักการบริหารความเสี่ยง โดย...นางฒิพาพร สิทธิเลิศพิศาล หัวหน้ากลุ่มตรวจสอบภายใน กรมอนามัย
หลักการบริหารความเสี่ยงหลักการบริหารความเสี่ยง ต้องครอบคลุมถึงความเสี่ยงประเภทต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับองค์กรทั้งหมด ส่งผลกระทบและโอกาสที่จะเกิดผลกระทบต่อ - เงินและทรัพย์สินขององค์กร - ภาพลักษณ์ขององค์กร - ขวัญและกำลังใจของบุคลากร - ความมั่นคงของประเทศ - การปฏิบัติงานตามกฎหมาย และระเบียบ
เป้าหมาย • ความสม่ำเสมอ • การประเมินตนเอง • การตรวจสอบภายใน • การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อ • ประชาชนรับบริการที่ดีขึ้น • เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของ องค์กร • ประสิทธิภาพ ประสิทธิพลและคุ้มค่า ติดตามผล ประเมินความ เสี่ยง ความไม่แน่นอน ต่อเป้าหมายที่ต้องการ แต่ละแห่งไม่เหมือนกัน ปรับปรุง ทบทวนให้เหมาะสมกับสภาพ เวลา นำระบบการควบคุม ที่กำหนดไปใช้ กำหนดระบบการควบคุม เมื่อรู้ความเสี่ยง ก็ต้องกำหนดระบบการควบคุม เพื่อให้มั่นใจว่าจะบรรลุเป้าหมาย ภาพรวมของการบริหารความเสี่ยง
ความเสี่ยง(RISK) ความเสี่ยง คือ เหตุการณ์/การกระทำใดๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ ที่ไม่แน่นอน และจะส่งผลกระทบ หรือสร้างความเสียหาย (ทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงิน ) หรือก่อให้เกิด ความล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายภารกิจหลักที่กำหนดในกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการ ของส่วนราชการ
ระบบบริหารความเสี่ยง หมายถึง ระบบบริหารปัจจัย และควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการการดำเนินการต่างๆ โดยลดมูลเหตุ ของแต่ละโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหาย เพื่อให้ระดับ ของความเสี่ยงและผลกระทบ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต อยู่ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ประเมินได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบได้อย่างมีระบบ โดยคำนึงถึงการบรรลุ เป้าหมายตามภารกิจหลักตามกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการส่วนราชการ เป็นสำคัญ
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยงขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง • การกำหนดวัตถุประสงค์: กำหนดขอบเขต การดำเนินงานขององค์การ เพื่อให้การวิเคราะห์ ความเสี่ยงได้ครบถ้วน • การระบุความเสี่ยง: ค้นหาความเสี่ยงในแต่ ละด้าน • การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยง: วิเคราะห์ โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงและผลกระทบของ ความเสี่ยงและจัดระดับความเสี่ยง
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง(ต่อ)ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง(ต่อ) • การจัดการความเสี่ยง: กำหนดแนวทางการดำเนินงานเพื่อป้องกัน ลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่องค์กรสามารถยอมรับได้ • การติดตาม ประเมินผลและรายงาน:ติดตามผลหลังดำเนินการตามแผนจัดการความเสี่ยงและประเมินผลการบริหารความเสี่ยง
การระบุความเสี่ยง อะไร? (เหตุการณ์) ที่ทำให้องค์กร • เสียชื่อ • ขาดความน่าเชื่อถือ • สูญเสียทรัพย์(เงิน คน สิ่งของ) • สูญหาย (ทรัพย์ เอกสารสำคัญ) • เสื่อมสภาพ • เสียโอกาสที่ดีต่อองค์กร • ถูกดำเนินคดี/กล่าวโทษ
การประเมินความเสี่ยง หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุและ การวิเคราะห์ความเสี่ยง ที่มีผลกระทบ ผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยงาน รวมทั้ง การกำหนดแนวทางที่จำเป็น ต้องใช้ในการควบคุมความเสี่ยง หรือบริหาร ความเสี่ยง
โอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยงโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ที่เป็นความเสี่ยง
การวัดระดับความเสี่ยงการวัดระดับความเสี่ยง ผล กระ ทบ โอกาสที่จะเกิด
ตัวอย่างการประเมินความเสี่ยงตัวอย่างการประเมินความเสี่ยง
ประเภทความเสี่ยง ได้แก่ • ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk: S) • ด้านการดำเนินงาน (Operation Risk : O) • ด้านการเงิน งบประมาณ (Financial Risk: F) • ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk :C) • ด้านอื่น ๆ
สิ่งที่ควรนำมาพิจารณาได้แก่สิ่งที่ควรนำมาพิจารณาได้แก่ • กลยุทธ์ • การเมือง • เศรษฐกิจ • สถานการณ์โลก • สังคม • ชื่อเสียง • ภาวะผู้นำ • ตลาด • ตราสินค้า • ลูกค้า • การแข่งขัน ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ ตัวอย่างความเสี่ยงด้านกลยุทธ์เช่น • การดำเนินกลยุทธ์ที่ผิดพลาด หรือไม่เหมาะสม • กลยุทธ์ที่กำหนดไว้ไม่ได้ถูกนำไปใช้ • การดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย/ไม่แล้วเสร็จตามเวลา ฯลฯ • การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติอย่างไม่เหมาะสม • คุณภาพการบริหารที่ไม่ดี/ความไม่เหมาะสมในการจัดการ • ใช้คน/เงิน/สิ่งของ ในการดำเนินงาน ไม่เหมาะสม รั่วไหล/เสียหาย
ความเสี่ยงด้านการดำเนินงานความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน สิ่งที่ต้องพิจารณา • ระบบขององค์การ • กระบวนการทำงาน • เทคโนโลยี • บุคลากร • ข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างของความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน เช่นใช้คน/เงิน/สิ่งของ ในการดำเนินงาน ไม่เหมาะสม รั่วไหล/เสียหาย
ความเสี่ยงด้านการเงิน งบประมาณ ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับองค์กรจากการกำหนดแนวทางแผนการจัดการ และการควบคุม การใช้งบประมาณอย่างไม่เหมาะสม รวมถึง การกำหนดนโยบายและวิธีการทางบัญชี และวางระบบตลอดจนการลงบัญชี และออกรายงานทางการเงินที่ผิดพลาด รวมทั้งความไม่ปลอดภัยในการเก็บรักษาเงินสดทางกายภาพ เช่นการเบิกจ่ายงบลงทุนไม่ได้ตามเป้าหมาย การเบิกจ่ายเงินแต่ละไตรมาสไม่เป็นไปตาม มติ ครม. ฯลฯ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ • กฎระเบียบ • กฎหมาย • ระเบียบข้อบังคับ • ข้อกำหนดของทางการ • มาตรการกรม
กพร. กำหนดให้เป็นตัวชี้วัดในการจัดทำคำรับรองปฏิบัติราชการ ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง ตัวชี้วัดที่ 19 ในปี 2549 ตัวชี้วัดที่ 17 ในปี 2550 ตัวชี้วัดที่ 12 หมวด 2 ในปี 2551
การบริหารความเสี่ยงกรมอนามัยการบริหารความเสี่ยงกรมอนามัย • กรมอนามัยกำหนดให้กลุ่มตรวจสอบภายใน • เป็นเจ้าภาพหลักและกำหนดให้มีคณะกรรมการ • บริหารความเสี่ยง 2 ระดับ • ระดับกรม • ระดับหน่วยงาน
ขั้นตอนการดำเนินงานตาม กพร. กำหนด ขั้นตอนที่ 1 ตั้งคณะกรรมการ ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์ระบุปัจจัยเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 4 ดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยง ขั้นตอนที่ 5 สรุปประเมินผลการดำเนินงานตามแผน
แผนบริหารความเสี่ยง 4 กระบวนงาน • 1. งานวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้นวตกรรม • 2. จัดซื้อจัดจ้าง • แผน • การดำเนินงาน • 3. กระบวนการอบรม/ประชุม/สัมมนา • 4. การสื่อสารประชาสัมพันธ์
ติดตามการบริหารความเสี่ยง 4 กระบวนงาน วัตถุประสงค์ 1. งานวิจัย เนื่องจากเป็นภารกิจของกรมฯ ที่ต้องเผยแพร่ หรือนำผลงานไปสู่การปรับใช้ในทางปฏิบัติ 2. งานฝึกอบรม เพื่อให้การอบรมคุ้มค่าและมีประโยชน์และเป้าหมาย ตามวัตถุประสงค์อย่างแท้จริงและตามระเบียบข้อ 27 กำหนดให้ มีการประเมินผลการฝึกอบรมและรายงานต่อหัวหน้าส่วนราชการ 3. งานประชาสัมพันธ์ เพื่อทราบถึงวิธีการสื่อสารประชาสัมพันธ์ ภายในหน่วยงาน 4. งานจัดซื้อ/จัดจ้าง เพื่อให้เกิดการเร่งรัดการจัดซื้อ/จัดจ้าง โดยใช้ผังกำกับการจัดซื้อ/จัดจ้างตามกระบวนการบริหารความเสี่ยง ใช้การซื้อ/จ้างทันตามแผนและเวลาที่กำหนด
กลยุทธ์หน่วยงาน และกิจกรรมที่รับผิดชอบ ความเหมาะสม พิจารณาได้จาก : • ผลสำเร็จของโครงการ/กิจกรรมที่กำหนดไว้ “ทำให้องค์กรบรรลุผลตามที่กำหนดไว้หรือไม่” • กิจกรรมที่กำหนด(สิ่งที่จะทำ) สามารถปฏิบัติได้จริง • มีความพร้อมด้านทรัพยากรต่างๆ และระบบข้อมูล
ความเสี่ยงของโครงการ ไม่ได้ผลลัพธ์ Outcome ตามที่ต้องการ • งบประมาณไม่เพียงพอ • บุคคลากรไม่เพียงพอ เหมาะสม • งานที่สำคัญ ไม่ได้กำหนดไว้ • เกินกำหนดเวลา
การบริหารความเสี่ยงระดับกิจกรรมการบริหารความเสี่ยงระดับกิจกรรม • เลือกกิจกรรมที่ สนับสนุนกลยุทธ์องค์กร • ลำดับขั้นตอน และผู้รับผิดชอบตั้งแต่ต้น จนจบ • ประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการ • ประเมินระบบการควบคุมที่มี • ติดตามปัจจัยกระทบ และผลการควบคุม
การจัดทำบัญชีความเสี่ยง(Risk Profile) แบ่งออกมาเป็น 2 ระดับ 1. ระดับกรม ให้ทำยุทธศาสตร์ กรมอนามัย 2. ระดับหน่วยงานย่อย ให้ทำ ยุทธศาสตร์ / โครงการ/ กิจกรรม ระดับหน่วยงาน
ไดอะแกรม การจัดทำ Risk Profile ระบุประเด็นที่ สร้างความเสี่ยงสูง เปรียบเทียบกับเวลาก่อนหน้า กำหนด ยุทธศาสตร์กรมอนามัย ประเมินโอกาส + ความรุนแรง 5 x 5 …. 1 x 1 กำหนด/ จัดลำดับความเสี่ยง ความผันผวน ต่ำหรือสูง? ใช่ สำรวจข้อเท็จจริง ความผันผวน วางเกณฑ์ สร้างความผันผวน* ไม่ใช่ จัดลำดับแผนการจัดการ ทรัพยากรที่จะใช้ ประเมินระดับความเพียงพอ ของทรัพยากร แผนยุทธศาสตร์ ความเสี่ยง คุ้มค่าหรือไม่ ใช่ ไม่ใช่ กำหนดมาตรการ บริหารความเสี่ยง ประเมินกิจกรรมหลัก ตามยุทธศาสตร์
การบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใครการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของใคร • ทุกคนเกี่ยวข้องกับการบริหารความเสี่ยงในฐานะที่ เป็นผู้ระบุว่ามีความเสี่ยงอะไรบ้างในหน่วยงาน/ โครงการหรืองานของตน • ฝ่ายบริหารของหน่วยงาน • เจ้าของหรือเจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Owners) ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงาน เจ้าของโครงการ/เจ้าของงาน ผู้ที่ได้รับมอบหมายเฉพาะ คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง(RiskManagement and Review Committee)
Risk Profiles คือ 1. การประเมินภาพ และแสดงภาพขององค์ประกอบความเสี่ยงในด้านต่าง ๆ ที่ครบถ้วนทุกด้านด้วย Risk Factor = RF 2. แล้วติดตามว่ามีกิจกรรม แผนปฏิบัติการใด ผลลัพธ์ใดที่เกิดขึ้นจาก Risk Mgn แล้วทำให้ความเสี่ยงลดลงไปจากเวลาก่อนหน้านั้น
เจ้าของ/เจ้าภาพความเสี่ยง (Risk Ownership) • มีการตกลงและมอบหมายการเป็นเจ้าภาพความเสี่ยงอย่าง เป็นทางการ • อาจไม่ใช่คนที่รับผิดชอบการประเมินความเสี่ยงก็ได้แต่ต้อง เป็นคนที่สามารถติดตามดูแลให้มีการบริหารความเสี่ยง อย่างมีประสิทธิภาพ • ต้องมีความชัดเจนว่าใครทำหน้าที่อะไร • ใครเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าส่วนราชการจะรับความเสี่ยงได้แค่ไหน • ใครรับผิดชอบการบริหารความเสี่ยงในแต่ละระดับ • ใครรับผิดชอบแต่ละกระบวนการ/ขั้นตอนของการบริหารความเสี่ยง • ใครดูแลการนำมาตรการบริหารความเสี่ยงไปปฏิบัติ • ใครดูแล กรณีที่เป็นความเสี่ยงร่วม (Interdependent risks)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็กยุทธศาสตร์การพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก วิสัยทัศน์ เป้าหมายหลัก ยุทธศาสตร์ โครงการ/กิจกรรม โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • การลงทุนเพื่อพัฒนาระบบบริการ MCH ที่ได้มาตรฐาน • โครงการพัฒนาโรงพยาบาลภาครัฐ และเอกชนผ่านเกณฑ์โรงพยาบาล สายใยรักแห่งครอบครัว • โครงการสนับสนุนระบบบริการ ส่งเสริม ป้องกัน และควบคุมโรคธาลัสซีเมีย • โครงการสนับสนุนระบบบริการป้องกัน • การแพร่เชื้อ เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก • โครงการสนับสนุนระบบป้องกันภาวะปัญญาอ่อนจากภาวะพร่องธันรอยด์ • โครงการติดตามมารดาหลังคลอด เพื่อเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 6 เดือน ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย เด็กเจริญเติบโต มีพัฒนาการสมวัย เพื่อเป็นรากฐานการ พัฒนาเด็กระยะยาว • โรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ระดับทองจังหวัดละ 1 แห่ง • อัตราการถ่ายทอดเชื้อ เอช ไอ วี จาก แม่ สู่ลูก ร้อยละ 4 • ทารกเกิดใหม่ป่วยเป็นธาลัสซีเมียชนิดรุนแรงลดลงร้อยละ 20 • ทารกที่ผลการตรวจกรองธัยรอยด์ผิดปกติได้รับการตรวจยืนยันและกินธัยรอยด์ฮอร์โมน ร้อยละ 100 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย ชมรม/ แกนนำ/อาสาสมัคร 3. พัฒนาศักยภาพบุคลากร/ ผู้ที่เกี่ยวข้องและพัฒนา องค์ความรู้ 6. เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชมรม/พ่อ/แม่/ ผู้ดูแลเด็ก/ความรู้เพื่อการพัฒนาเด็ก 7. พัฒนาศักยภาพบุคลากร ตลอดจนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับ ผู้บริหาร นักวิชาการ จากศูนย์/สสจ./รพศ./รพท./รพช./ PCU/ครู/ ผดด./อบต. 4. สร้างความตระหนัก ขับเคลื่อนทางสังคมประชาสัมพันธ์ความสำคัญ “พัฒนาเด็ก” 8. วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ MCH - คลินิกฝากครรภ์/คลินิกเด็กดีคุณภาพ - รูปแบบบริการส่งเสริมสุขภาพเด็ก เอดส์ - ประเมินผลกระทบเด็ก เอดส์ - ประเมินสมุดบันทึกสุขภาพ 5. มาตรการทางกฎหมาย เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ • รวมพลคนกินนมแม่ 10,000 คน • ประกวดสุดยอดคุณแม่ • สัมมนาสื่อมวลชน • ประชาสัมพันธ์ วิทยุ โทรทัศน์ เอกสาร • โครงการนิเทศ ติดตามงานอนามัยแม่และเด็ก • 16. โครงการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักฯ • 17. รายงานเฉพาะกิจ ก1 ก2 6. เฝ้าระวัง ควบคุม กำกับ ประเมินผล 13.โครงการผลักดัน Code milk 14.โครงการสร้างทีมเฝ้าระวัง Code milk ระดับจังหวัด
แบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัย ปี 2551
คำอธิบายการกรอกแบบฟอร์ม Strategy Risk Profile กรมอนามัยปีงบประมาณ 2551