1 / 49

HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู

HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู. การดำเนินงานโปรแกรม HIV QUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู. 1. ข้อมูลทั่วไป จำนวนเนื้อที่ 107 ไร่ อาคารผู้ป่วยใน 4 หลัง 4 ชั้น / หลัง อาคารผู้ป่วยนอก 1 หลัง 4 ชั้น

jackie
Download Presentation

HIVQUAL-T โรงพยาบาลหนองบัวลำภู

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. HIVQUAL-TโรงพยาบาลหนองบัวลำภูHIVQUAL-Tโรงพยาบาลหนองบัวลำภู

  2. การดำเนินงานโปรแกรม HIV QUAL-Tโรงพยาบาลหนองบัวลำภู 1. ข้อมูลทั่วไป จำนวนเนื้อที่ 107 ไร่ อาคารผู้ป่วยใน 4 หลัง 4 ชั้น / หลัง อาคารผู้ป่วยนอก 1 หลัง 4 ชั้น อาคารวินิจฉัย 1 หลัง 4 ชั้น อื่นๆ อาคารซ่อมบำรุง , อาคารพัสดุ , อาคารโภชนาการ อาคารเภสัช , อาคารชักฟอก

  3. บุคลากรโรงพยาบาลหนองบัวลำภูข้าราชการ / ลูกจ้างประจำ / ลูกจ้างชั่วคราว / พนักงานราชการจำนวน 544 คน ปริมาณผู้รับบริการปีงบประมาณ 2551 (ตุลาคม 2550 – กันยายน 2551) ผู้ป่วยนอก จำนวน 163,624 ราย ผู้ป่วยใน จำนวน 16,326 ราย รวมทั้งหมด จำนวน 179,950 ราย

  4. การทำงานเป็นทีมเป็นหัวใจสำคัญการทำงานเป็นทีมเป็นหัวใจสำคัญ

  5. คณะทำงานโรคเอดส์ พยาบาลเวชกรรมสังคม พยาบาลเยี่ยมบ้าน พยาบาลให้คำปรึกษา อายุรแพทย์ พยาบาลอายุรกรรม พยาบาลห้องฝากครรภ์ พยาบาลห้องคลอด พยาบาลตึกหลังคลอด พยาบาลห้องตรวจสูตินรีเวช สูติแพทย์ พยาบาลห้องตรวจเด็ก กุมารแพทย์ เภสัชกร แกนนำผู้ติดเชื้อ นักเทคนิคการแพทย์

  6. บุคลากรที่รับผิดชอบงานเอดส์ จำนวน 12 คน ประกอบด้วย อายุรแพทย์ 1 คน กุมารแพทย์ 1 คน เภสัชกร 2 คน พยาบาลวิชาชีพ 3 คน (เวชกรรมสังคม 1,อายุรกรรม 1,ANC 1) พยาบาลเทคนิค 1 คน แกนนำผู้ติดเชื้อ 4 คน

  7. 2. สถานการณ์เอดส์โรงพยาบาลหนองบัวลำภู ลงทะเบียนผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ 283 คน สิทธิหลักประกันสุขภาพ 228 คน สิทธิประกันสังคม 34 คน สิทธิว่าง 7 คน ข้าราชการ 8 คน ผู้ป่วย ATC จำนวนผู้ป่วย 205 คน จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยา ณ.ปัจจุบัน 192 คน ผู้ป่วย PATC จำนวนผู้ป่วยสะสม 92 คน จำนวนผู้ป่วยที่ยังคงกินยา ณ.ปัจจุบัน 85 คน จำนวนผู้รับยา ARV ทั้งหมด 277 คน จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับยาสูตรพื้นฐาน 268 คน จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับสูตรดื้อยา 9 คน

  8. 3. การบริการดูแลผู้ติดเชื้อ เอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ และโครงสร้างการพัฒนาคุณภาพแนวทางการตรวจรักษา HIV

  9. แนวทางการตรวจ HIV ผ่าน Counselling 100% ผู้รับบริการ ตรวจ Anti - HIV (งานจิตเวช) คัดกรอง TB,CXR ผล Positive Safe sex VDRL Counselling โครงการNAPHA/ CARE/ ตรวจ CD4 ผู้ติดเชื้อ HIV เพศหญิง ตรวจPV+Papsmear

  10. ผู้ติดเชื้อ HIV + ผู้ป่วยเอดส์ ตรวจ CD 4 CD 4 > 200 cell Counselling F/ u CD4 ทุก 6 เดือน CD 4 < 200 cell เตรียมรับยา OI/ ARV เข้าโครงการ

  11. แนวทางการรับยา ARV / OI CD 4 < 200 100 cell < CD4 < 200 cell รับยา ARV รับยา OI - Cotri (200) 2 tab × 1 pc CD4 < 100 cell รับยา ARV รับยา OI - Cotri (200) 2 tab × 1 pc - Fluconazole (200) 2 tab /1 wk หมายเหตุ : การรับยา OI ตามเกณฑ์การติดเชื้อฉวยโอกาส

  12. แนวทางการรับยา ARV ในเด็ก CD 4 อายุ < 1 ปี อายุ 1-3 ปี อายุ >3 ปี CD4 < 25 % CD4 < 15 % CD4 < 20 % CD4 < 200 Cell < 1,500 Cell CD4 < 750 Cell

  13. LAB ในผู้ติดเชื้อเอดส์, ผู้ป่วยเอดส์ (เตรียมรับยา ARV + OI) ผู้ใหญ่ เด็ก HIV + CD4<200 cell SGPT /SGOT VDRL CXR AFB ผู้รับยา ARV ตรวจ VL ปีละ 1 ครั้ง HIV + CD4 < 20 % SGPT ,SGOT,CBCPlt count, BUN Cr ,Elyte VDRL, CXR

  14. แนวทางการดูแลมารดา ANC + HIV Counselling โครงการ CARE + ตรวจ CD4 + HIV QAUL -T Preg 28 wks รับยา AZT 300 มิลลิกรัม เช้า-เย็น จนเจ็บครรภ์ คลอด รับยา NVP 200มิลลิกรัม 1เม็ด และ ยา AZT 300มิลลิกรัม 1 เม็ด เมื่อเริ่มเจ็บครรภ์คลอด รับยา AZT ขนาด 300 มิลลิกรัม ซ้ำทุกๆ 3 ชั่วโมง จนคลอด หลังคลอด รับยา AZT +3TC ต่อ 1 WK ถ้าตรวจ CD4 > 200 cell F/U CD4 ทุก 6 เดือน

  15. กรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ HIV และ CD4 < 200 ให้ยา AZT +3TC +NVP ในระยะตั้งครรภ์ ( GPO-vir Z ) ไม่ต้องเพิ่ม AZT หรือ NVP ในขณะเจ็บครรภ์คลอด หลังคลอด เปลี่ยนเป็น GPO-vir ( 3TC + d4T +NVP ) กรณีมารดาติดเชื้อเอดส์ กินยา ARV เดิม GPO-vir ( 3TC +d4T+ NVP ) ถ้าตั้งครรภ์ ให้เปลี่ยนยากินเป็น GPO-virZ ( AZT +3TC+NVP ) จนหลังคลอดจึงเปลี่ยนกินยาสูตรเดิม

  16. แนวทางการให้ยาต้านไวรัสแนวทางการให้ยาต้านไวรัส ในเด็กที่เกิดจากแม่ที่ติดเชื้อ HIV ให้ยา NVP ชนิดน้ำขนาด 6มิลลิกรัม 1 ครั้ง ( หากน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ให้ยา NVP ชนิดน้ำ ขนาด 2 มิลลิกรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม) ให้ยา AZT ชนิดน้ำ ขนาด 2 มิลลิกรัม / น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม เร็วที่สุด ภายใน 48 ชั่วโมง ให้ยา AZT ชนิดน้ำขนาด 2 มิลลิกรัม/ น้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม ทุก 6 ชั่วโมง ถ้าแม่ได้รับยาต้านไวรัส ขณะตั้งครรภ์ถึงคลอดตั้งแต่ 4 สัปดาห์ขึ้นไป เด็กจะได้รับยา AZT ชนิดน้ำ ติดต่อกัน 1 สัปดาห์ ถ้าแม่ได้รับยาต้านไวรัสในระหว่างตั้งครรภ์ถึงคลอดน้อยกว่า 4 สัปดาห์ เด็กจะได้รับยา AZT ชนิดน้ำ เป็นเวลา 6 สัปดาห์

  17. 4. หลังอบรมโปรแกรม HIVQUAL-T จัดประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเวชระเบียน คลินิกเพื่อน แสดงรายงานต่างๆ ตามตัวชี้วัด เวชระเบียนเลือกกลุ่มเป้าหมายจาก ICD10 ที่เข้าเกณฑ์ (อายุ 15 ปีขึ้นไป รับบริการ 2 ครั้ง) บันทึกข้อมูลตามตัวชี้วัดใน โปรแกรม HIVQUAL-T นำข้อมูลเข้าโปรแกรม HIVQUAL-T สุ่มตัวอย่างโดยโปรแกรม HIVQUAL-T กรองกลุ่มตัวอย่างให้ถูกต้อง กรอกข้อมูลตามแบบฟอร์ม

  18. 5. ข้อมูลการวัดผลจากโปรแกรม HIV QUAL-Tตามตัวชี้วัด 7 ตัวชี้วัด 1. การติดตามผล CD4, VL 2. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ 3. การให้ยาต้านไวรัส 4. การคัดกรองวัณโรค 5. การป้องกันการแพร่เชื้อ 6. การตรวจคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 7. การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ

  19. 6. ผลการดำเนินงาน การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งในปีประเมิน (N=36 ทำได้ = 31) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 1 ครั้งในปีประเมิน (N=74 ทำได้ = 71 ) 2550

  20. การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ในปีประเมิน (N= 36 ทำได้ = 17) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง ในปีประเมิน (N= 71 ทำได้ = 28 )

  21. การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วย (CD4>350) ที่ได้ตรวจตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน (N= 8 ทำได้ = 2) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วย (CD4>350) ที่ได้ตรวจตรวจ CD4 ทุก 6 เดือน (N= 22 ทำได้ = 7)

  22. การติดตามผล CD4 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และ ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง (N= 22 ทำได้ = 13) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยา ARV และ ได้รับการตรวจ CD4 อย่างน้อย 2 ครั้ง (N= 54 ทำได้ = 27) 2550

  23. การติดตามผล VL 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง ในปีประเมิน (N=36 ทำได้ =2) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง ในปีประเมิน (N=74 ทำได้ = 23)

  24. การติดตามผล VL ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสและได้ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (N=22 ทำได้ =2) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาต้านไวรัสและได้ตรวจ VL อย่างน้อย 1 ครั้ง (N=54 ทำได้ = 23)

  25. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิการป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคปอดอักเสบ (PCP) (N=21 ทำได้ = 15) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคปอดอักเสบ (PCP) (N=39 ทำได้ = 26)

  26. การป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิการป้องกันโรคฉวยโอกาสแบบปฐมภูมิ ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Cryptococcosis) (N=15 ทำได้ = 8) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ และ ได้รับยาป้องกันโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Cryptococcosis) (N=26 ทำได้ = 23) 2550

  27. การให้ยาต้านไวรัส ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์รับยา ได้รับยา ARV (N= 24 ทำได้ = 22) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้าเกณฑ์รับยา ได้รับยา ARV (N=43 ทำได้ = 30) 2550

  28. การให้ยาต้านไวรัส-กินสม่ำเสมอการให้ยาต้านไวรัส-กินสม่ำเสมอ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาสม่ำเสมอ (N=22 ทำได้ = 22) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับยาสม่ำเสมอ (N=54 ทำได้ = 54)

  29. การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB (N=36 ทำได้ =10) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB (N=74 ทำได้ =24)

  30. การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษา TB ได้รับการรักษาและติดตาม (N=10 ทำได้ =9) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีประวัติ/กำลังรักษา TB ได้รับการรักษาและติดตาม (N=24 ทำได้ =23)

  31. การคัดกรองวัณโรค ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB ได้รับการคัดกรองวัณโรค (N=26 ทำได้ = 14) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติ/ กำลังรักษา TB ได้รับการคัดกรองวัณโรค (N=50 ทำได้ = 32)

  32. การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูล/คำปรึกษา เรื่อง safe sex ( N=36 ทำได้ = 35) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับข้อมูล/คำปรึกษา เรื่อง safe sex ( N=74 ทำได้ = 71)

  33. การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของคู่นอนประจำที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV ( N=13 ทำได้ = 11) 2549 2550 ร้อยละของคู่นอนประจำที่ทราบผลการติดเชื้อ HIV (N=42 ทำได้ = 38)

  34. การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ยังไม่ทราบผล แต่ได้รับคำแนะนำพาคู่มาตรวจ ( N=2 ทำได้ = 1) 2549 2550 ร้อยละของคู่นอนประจำของผู้ป่วยที่ยังไม่ทราบผล แต่ได้รับคำแนะนำพาคู่มาตรวจ ( N=4 ทำได้ = 4)

  35. การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ ได้รับการแจกถุงยางอนามัย (N=11 ทำได้ = 7) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ระบุว่ามีเพศสัมพันธ์ ได้รับการแจกถุงยางอนามัย (N=29 ทำได้ = 28)

  36. การป้องกันการแพร่เชื้อการป้องกันการแพร่เชื้อ 2549 2550

  37. การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส)การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ซิฟิลิส ( N=36 ทำได้ = 17) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจคัดกรอง ซิฟิลิส ( N=74 ทำได้ = 61)

  38. การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส)การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(ซิฟิลิส) ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ และ ได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส ซิฟิลิส ( N=12 ทำได้ = 4) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่มีเพศสัมพันธ์ และ ได้รับการตรวจคัดกรองซิฟิลิส ซิฟิลิส ( N=19 ทำได้ = 5)

  39. การคัดกรองโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์(อื่น ๆ) 2549 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธ์หรือแผลอวัยวะเพศ ( N=12 ทำได้ = 0) 2550 ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการตรวจอวัยวะสืบพันธ์หรือแผลอวัยวะเพศ ( N=20 ทำได้ = 2)

  40. การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในหญิงติดเชื้อ ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจภายใน PAP smear ( N=20 ทำได้ = 1) 2549 2550 ร้อยละของผู้ป่วยหญิงที่ได้รับการตรวจภายใน PAP smear ( N=20 ทำได้ = 9)

  41. 7. การปรับปรุงคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ 1. สถานที่เป็น one stop service 2. แกนนำ + ผู้ป่วยผู้ติดเชื้อมีส่วนร่วม / ประสานเครือข่าย NGO/ภาคเอกชน 3. Adherence การกินยาต่อเนื่อง , สม่ำเสมอ 4. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 5. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ได้เข้าถึงบริการตามตัวชี้วัดครอบคลุมมากขึ้น

  42. 8. สิ่งที่ได้เรียนรู้ 1. TEAM WORK 2. การมีส่วนร่วมของผู้ติดเชื้อ 3. เน้นการเตรียมผู้ป่วยก่อนรับยา , ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ 4. ผู้ป่วยกินยา + ดูแลตัวเอง ดีขึ้น เด็ก ครอบครัว / ผู้ดูแล

  43. 9. ความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมพัฒนาคูณภาพ 10. ปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงาน 1. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ป่วยเอดส์ได้รับการดูแลครอบคลุมคุณภาพชีวิตดีขึ้น 2. ทีมงามได้พัฒนารูปแบบการทำงานและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 1. การสุ่มตัวอย่างตามโปรแกรม - ต้องเปลี่ยนตัวอย่างที่สุ่มบ่อยเนื่องจากข้อมูลมีความผิดพลาด 2. การลงบันทึกใน OPD CARD ผู้ป่วยยังไม่ครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการ

  44. 11. แนวทางการแก้ไข - ทีมงาน+ผู้ป่วย+แก่นนำ+ได้พัฒนาการให้บริการผู้ติดเชื้อ / ผู้ป่วยเอดส์ให้ครอบคลุมตามตัวชี้วัดอย่างต่อเนื่อง

  45. ภาพ : กิจกรรมเสริม

  46. ภาพ : กิจกรรมเสริม

  47. ภาพ : กิจกรรมเสริม

  48. ในการดำเนินงานไม่ได้ใช้งบประมาณในการบริหารโครงการ แต่พัฒนาตัวชี้วัดเข้าในระบบบริการปกติ ผู้ป่วย แพทย์ ผู้ให้คำปรึกษา พยาบาล จนท. LAB เภสัชกร แกนนำผู้ติดเชื้อ **ครอบครัว **

  49. ขอขอบคุณ

More Related